ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสรีภาพสื่อ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มหมวดหมู่:เสรีภาพ; ลบป้าย {{ต้องการหมวดหมู่}}ด้วยฮอทแคต
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:

[[ไฟล์:Press freedom 2017.svg|250px|thumb|right|
[[ไฟล์:Press freedom 2017.svg|250px|thumb|right|
<center>
<center>
บรรทัด 23: บรรทัด 22:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{โครงการเมือง}}


[[หมวดหมู่:เสรีภาพ]]
[[หมวดหมู่:เสรีภาพ]]
{{โครงการเมือง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:59, 17 กรกฎาคม 2560

ค่าดัชนีเสรีภาพของสื่อประจำปี 2017[1]
  แย่มาก
  แย่
  มีปัญหา
  พอใช้
  ดี
  ไม่มีข้อมูล

เสรีภาพ
แนวความคิดสำคัญ

อิสรภาพ (เชิงบวก · เชิงลบ)
สิทธิ และ สิทธิมนุษยชน
เจตจำนงเสรี · ความรับผิดชอบทางศีลธรรม

จำแนกตามประเภท

พลเมือง · วิชาการ
การเมือง · เศรษฐกิจ
ความคิด · ศาสนา

จำแนกตามรูปแบบ

แสดงออก · ชุมนุม
สมาคม · เคลื่อนไหว · สื่อ

ประเด็นทางสังคม

การปิดกั้นเสรีภาพ (ในไทย)
การเซ็นเซอร์ · การบีบบังคับ · ความโปร่งใสของสื่อ

เสรีภาพของสื่อ (อังกฤษ: Freedom of the press) หรือ freedom of the media เป็น เสรีภาพรูปแบบหนึ่ง เกี่ยวกับการสื่อสารโทรคมนาคมและสื่อมวลชน รวมถึงสื่ออีเลกโทนิก และ และสื่อสิ่งพิมพ์ โดยปราศจากการแทรกแซงของรัฐ โดยประเทศไทยในปี พ.ศ. 2560 จัดว่ามีสถานการณ์ "แย่" โดยองค์กรนักข่าวไร้พรมแดน (Reporters without borders)[1]

ตามที่ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ของ สหประชาชาติ มีข้อบัญญัติไว้ในข้อที่ 19 ว่า: "ทุกคนมีสิทธิในอิสรภาพแห่งความเห็นและการแสดงออกสิทธินี้รวมถึงอิสรภาพในการที่จะถือเอาความคิดโดยปราศจากความแทรกสอดและที่จะแสวงหา รับและแจกจ่ายข่าวสารและความคิดเห็นไม่ว่าโดยวิธีใด ๆ และโดยไม่คำนึงถึงเขตแดน"

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "2017 World Press Freedom Index". Reporters Without Borders. 2017.