ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มลภาวะทางเสียง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Qantas b747 over houses arp.jpg|thumb|right|[[โบอิง 747-400|เครื่องบินโบอิง 747-400]] ซึ่งกำลังบินในระยะใกล้กับที่อยู่อาศัยขณะกำลังลงจอดที่ [[ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์]]]]
'''มลภาวะทางเสียง''' เป็นสภาวะที่มีการก่อให้เกิดเสียงที่มีการรบกวน อาจมาจากแหล่งกำเนิดเสียงต่างๆ ทั้งจากมนุษย์, สัตว์ หรือเครื่องจักรต่างๆ โดยหากเกิน 85 เดซิเบล จะเป็นอันตรายต่อหู ยิ่งถ้าเกิน 90 เดซิเบลจะเป็นอันตรายต่อหูอย่างมาก ดังนั้นไม่ควรเข้าใกล้บริเวณที่มีเสียงดังเกินจะรับได้

ทั้งนี้ แหล่งที่มาของเสียงภายนอกทั่วโลกส่วนใหญ่มาจาก[[การก่อสร้าง]]และ[[การขนส่ง|ระบบการขนส่ง]] รวมทั้ง เสียงรบกวนจากพาหนะยานยนต์, เครื่องบิน และรถไฟ<ref name="Senate">Senate Public Works Committee, Noise Pollution and Abatement Act of 1972, S. Rep. No. 1160, 92nd Cong. 2nd session</ref><ref>C. Michael Hogan and Gary L. Latshaw, [http://www.worldcatlibraries.org/wcpa/top3mset/2930880 The relationship between highway planning and urision specialty conference, May 21-23, 1973, Chicago, Illinois. by American Society of Civil Engineers. Urban Transportation Division]</ref> หรือแม้แต่[[การวางผังเมือง]]ที่ไม่ดีอาจก่อให้เกิดมลพิษทางเสียงได้เช่นกัน และทางด้านแหล่งอุตสาหกรรมข้างเคียง ตลอดจนการปลูกสร้างที่อยู่อาศัยก็อาจก่อให้เกิดมลพิษทางเสียงในพื้นที่บริเวณที่อยู่อาศัยได้เช่นกัน

มลภาวะทางเสียงทั้งภายในและภายนอกอาคารมีหลายชนิด อาทิ เสียงเตือนภัยจากรถ, [[เสียงไซเรน]]สัญญาณฉุกเฉิน, อุปกรณ์เครื่องกล, [[พลุ]], ฮอร์นบีบอัดอากาศ, เครื่องเจาะถนน, เสียงสุนัขเห่า, เครื่องใช้ไฟฟ้า, การแสดงแสงสีเสียง, ระบบเสียงเพื่อความบันเทิง, [[โทรโข่ง]]ไฟฟ้า และเสียงตะโกนจากมนุษย์

== ผลกระทบ ==
== ผลกระทบ ==
ผลกระทบจากภาวะมลพิษทางเสียง
ผลกระทบจากภาวะมลพิษทางเสียง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:21, 12 กรกฎาคม 2560

ผลกระทบ

ผลกระทบจากภาวะมลพิษทางเสียง

  1. ผลกระทบต่อการได้ยิน แบ่งเป็น 3 ลักษณะคือ
  • หูหนวกทันที เกิดขึ้นจากการที่อยู่ในบริเวณที่มีเสียงดังเกิน 120 เดซิเบล
  • หูอื้อชั่วคราว เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในที่มีระดับเสียงดังตั้งแต่ 80 เดซิเบลเอขึ้นไปในเวลาไม่นานนัก
  • หูอื้อถาวร เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในบริเวณที่มีระดับความดังมากเป็นเวลานานๆ
  1. ด้านสรีระวิทยา เช่น ผลกระทบต่อระบบการหมุนเวียนของเลือด ต่อมไร้ท่อ อวัยวะสืบพันธุ์ ระบบประสาท และความผิดปกติของระบบการหดและบีบลำไส้ใหญ่ เป็นต้น
  2. ด้านจิตวิทยา เช่น สร้างความรำคาญ ส่งผลต่อการนอนหลับพักผ่อน ผลต่อการทำงานและการเรียนรู้ รบกวนการสนทนาและการบันเทิง
  3. ด้านสังคม กระทบต่อการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ทำให้ขาดความสงบ
  4. ด้านเศรษฐกิจ มีผลผลิตต่ำเนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานลดลง เสียค่าใช้จ่ายในการควบคุมเสียง
  5. ด้านสิ่งแวดล้อม เสียงดังมีผลต่อการดำรงชีวิตของสัตว์ เช่น ทำให้สัตว์ตกใจและอพยพหนี

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น