ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่ม 7"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Armonthap (คุย | ส่วนร่วม)
Stemoc (คุย | ส่วนร่วม)
temporary replacement for the deleted non-free image (GlobalReplace v0.6.5)
บรรทัด 140: บรรทัด 140:
ไฟล์:Shinzō Abe April 2015.jpg|'''{{flag|ญี่ปุ่น}}'''<br />[[ชินโซ อะเบะ]],<br />[[นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น|นายกรัฐมนตรี]]
ไฟล์:Shinzō Abe April 2015.jpg|'''{{flag|ญี่ปุ่น}}'''<br />[[ชินโซ อะเบะ]],<br />[[นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น|นายกรัฐมนตรี]]
ไฟล์:Theresa May UK Home Office (cropped).jpg|'''{{flag|สหราชอาณาจักร}}'''<br />[[เทเรซา เมย์]],<br />[[นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร|นายกรัฐมนตรี]]
ไฟล์:Theresa May UK Home Office (cropped).jpg|'''{{flag|สหราชอาณาจักร}}'''<br />[[เทเรซา เมย์]],<br />[[นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร|นายกรัฐมนตรี]]
ไฟล์:Donald Trump official portrait.jpg|'''{{flag|สหรัฐอเมริกา}}'''<br />[[ดอนัลด์ ทรัมป์]],<br />[[ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา|ประธานาธิบดี]]
ไฟล์:Donald Trump Pentagon 2017.jpg|'''{{flag|สหรัฐอเมริกา}}'''<br />[[ดอนัลด์ ทรัมป์]],<br />[[ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา|ประธานาธิบดี]]
ไฟล์:Donald Tusk 2013-12-19.jpg|'''{{flag|สหภาพยุโรป}}'''<br />[[ดอนัลต์ ตุสก์]],<br />[[ประธานสภายุโรป]]
ไฟล์:Donald Tusk 2013-12-19.jpg|'''{{flag|สหภาพยุโรป}}'''<br />[[ดอนัลต์ ตุสก์]],<br />[[ประธานสภายุโรป]]
ไฟล์:Ioannes Claudius Juncker die 7 Martis 2014.jpg|'''{{flag|สหภาพยุโรป}}'''<br />[[ฌอง-โคลด ยุงเคอร์]],<br />[[ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป]]
ไฟล์:Ioannes Claudius Juncker die 7 Martis 2014.jpg|'''{{flag|สหภาพยุโรป}}'''<br />[[ฌอง-โคลด ยุงเคอร์]],<br />[[ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:35, 3 มิถุนายน 2560

กลุ่มประเทศจีเจ็ด (G-7)

 แคนาดา
นายกรัฐมนตรี จัสติน ทรูโด
 ฝรั่งเศส
ประธานาธิบดี แอมานุแอล มาครง
 เยอรมนี
นายกรัฐมนตรี อังเกลา แมร์เคิล
 อิตาลี
นายกรัฐมนตรี เปาโล เจนติโลนี
 ญี่ปุ่น
นายกรัฐมนตรี ชินโซ อาเบะ
 สหราชอาณาจักร
นายกรัฐมนตรี เทเรซา เมย์
 สหรัฐ
ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์

ร่วมด้วย
 สหภาพยุโรป
ประธานสหภาพยุโรป Fredrik Reinfeldt

อดีตสมาชิก
 รัสเซีย
ประธานาธิบดี วลาดีมีร์ ปูติน

จีเจ็ด (G-7) เป็นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก ที่เพิ่มมาจากกลุ่ม จี7 (เพิ่มรัสเซีย) ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิก 8 ประเทศคือ แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา โดยเศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้นับเป็นกว่า 50% ของเศรษฐกิจโลก (ณ ปี 2012) นอกจากนั้น ยังมีประธานแห่งสหภาพยุโรปร่วมประชุมด้วย ในปี 2014 รัสเซียได้ก่อปัญหาโดยการรวมภูมิภาคไครเมียที่แยกออกมาจากยูเครนเข้าไปรวมในรัสเซีย ซึ่งมีข้อกล่าวหาว่าการก่อกบฏในพื้นที่ตะวันออกของยูเครนมีรัสเซียอยู่เบื้องหลัง ทำให้สหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นผู้นำ G8 ตัดรัสเซียออก และเปลี่ยนชื่อเป็น G7

การประชุมประจำปี

วันที่ ประเทศ ผู้นำประธาน สถานที่จัด เว็บ
1 15 พ.ย.-17 พ.ย. 2518  ฝรั่งเศส วาเลรี ฌิสการ์ แด็สแต็ง ร็องบูแย
2 27 มิ.ย.-28 มิ.ย. 2519  สหรัฐ เจอรัลด์ ฟอร์ด โดราโด, เปอร์โตริโก
3 7 พ.ค.-8 พ.ค. 2520  สหราชอาณาจักร เจมส์ คัลลาฮาน ลอนดอน
4 16 ก.ค.-17 ก.ค. 2521  เยอรมนีตะวันตก เฮลมุท ชมิดท์ บอนน์
5 28 มิ.ย.-29 มิ.ย. 2522  ญี่ปุ่น โอฮิระ มะซะโยะชิ โตเกียว
6 22 มิ.ย.-23 มิ.ย. 2523  อิตาลี ฟรานเซสโก กอซซีกา เวนิส
7 20 ก.ค.-21. ก.ค. 2524  แคนาดา ปีแยร์ เออ. ทรูว์โด มอนทิเบลโล, ควิเบก
8 4 มิ.ย. -6 มิ.ย. 2525  ฝรั่งเศส ฟร็องซัว มีแตร็อง แวร์ซาย
9 28 พ.ค.-30 พ.ค. 2526  สหรัฐ โรนัลด์ เรแกน วิลเลียมส์เบิร์ก, เวอร์จิเนีย
10 7 มิ.ย.-9 มิ.ย. 2527  สหราชอาณาจักร มาร์กาเร็ต เท็ตเชอร์ ลอนดอน
11 2 พ.ค.-4 พ.ค. 2528  เยอรมนีตะวันตก เฮลมุท โคล บอนน์
12 4 พ.ค.-6 พ.ค. 2529  ญี่ปุ่น นะกะโซะเนะ ยะซุฮิโระ โตเกียว
13 8 พ.ค.-10 พ.ค. 2530  อิตาลี อามินโตเร ฟันฟานี เวนิส
14 19 มิ.ย.-21 มิ.ย. 2531  แคนาดา ไบรอัน มัลโรนี โตรอนโต
15 14 ก.ค.-16 ก.ค. 2532  ฝรั่งเศส ฟร็องซัว มีแตร็อง ปารีส
16 9 ก.ค.-11 ก.ค. 2533  สหรัฐ จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช ฮิวสตัน, เทกซัส
17 15 ก.ค.-17 ก.ค. 2534  สหราชอาณาจักร จอห์น เมเจอร์ ลอนดอน
18 6 ก.ค.-8 ก.ค. 2535  เยอรมนี เฮลมุท โคล มิวนิก
19 7 ก.ค.-9 ก.ค. 2536  ญี่ปุ่น คิอิจิ มิยะซะวะ โตเกียว
20 8 ก.ค.-10 ก.ค. 2537  อิตาลี ซิลวีโอ แบร์ลุสโกนี เนเปิลส์
21 15 มิ.ย.-17 มิ.ย. 2538  แคนาดา ฌ็อง เครเตียง แฮลิแฟกซ์, โนวาสโกเชีย
- 19 มิ.ย.-20 มิ.ย. 2539
(Special summit on nuclear security)
 รัสเซีย บอริส เยลต์ซิน มอสโก
22 27 มิ.ย.-29 มิ.ย. 2539  ฝรั่งเศส ฌัก ชีรัก ลียง
23 20 มิ.ย.-22 มิ.ย. 2540  สหรัฐ บิล คลินตัน เดนเวอร์, โคโลราโด [1]
24 15 พ.ค.-17 พ.ค. 2541
(การประชุมครั้งแรกในนาม จี 8)
 สหราชอาณาจักร โทนี แบลร์ เบอร์มิงแฮม [2]
25 18 มิ.ย.-20 มิ.ย. 2542  เยอรมนี แกร์ฮาร์ด ชเรอเดอร์ โคโลญ
26 21 ก.ค.-23 ก.ค. 2543  ญี่ปุ่น โมะริ โยะชิโระ นะโงะ, โอะกินะวะ

[3]

27 20 ก.ค.-22 ก.ค. 2544  อิตาลี ซิลวีโอ แบร์ลุสโกนี เจนัว

[4]

28 26 มิ.ย.-27 มิ.ย. 2545  แคนาดา ฌ็อง เครเตียง แคนะแนสกิส, แอลเบอร์ตา [5]
29 2 มิ.ย.-3 มิ.ย. 2546  ฝรั่งเศส ฌัก ชีรัก เอวีย็อง-เล-แบ็ง [6]
30 8 มิ.ย.-10 มิ.ย. 2547  สหรัฐ จอร์จ ดับเบิลยู. บุช ซีไอแลนด์, จอร์เจีย [7]
31 6 ก.ค.-8 ก.ค. 2548  สหราชอาณาจักร โทนี แบลร์ เกลนอีเกิลส์, สกอตแลนด์ [8]
32 15 ก.ค. -17 ก.ค. 2549  รัสเซีย วลาดีมีร์ ปูติน สเตรลนา, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก [9]
33 6 มิ.ย.-8 มิ.ย. 2550  เยอรมนี อังเกลา แมร์เคิล ไฮลีเกนดัมม์,
เมคเคลนบูร์ก-ฟอร์พอมเมิร์น
[10]
34 7 ก.ค. -9 ก.ค. 2551  ญี่ปุ่น ยะซุโอะ ฟุกุดะ โทยะโกะ ฮกไกโด
35 2552  อิตาลี ซิลวีโอ แบร์ลุสโกนี ลากวีลา, อาบรุซโซ
36 2553  แคนาดา สตีเฟน ฮาร์เปอร์ ฮันต์สวิลล์, ออนแทรีโอ
37 2554  ฝรั่งเศส นีกอลา ซาร์กอซี โดวีล, บัส-นอร์ม็องดี
38 2555  สหรัฐ บารัก โอบามา แคมป์เดวิด
39 2556  สหราชอาณาจักร เดวิด แคเมอรอน
40 4 มิ.ย.-5 มิ.ย. 2557  สหภาพยุโรป ( เบลเยียม) Herman Van Rompuy , José Manuel Barroso บรัสเซลส์
41 7 มิ.ย.-8 มิ.ย. 2558  เยอรมนี อังเกลา แมร์เคิล Schloss Elmau

หมายเหตุ : ในปี 2557 เดิมเจ้าภาพในการประชุมคือ รัสเซีย โดย ประธานาธิบดี วลาดิมีร์ ปูติน แต่เหตุการณ์คาบสมุทรไครเมีย ทำให้เปลี่ยนสถานที่การประชุมที่กรุงบรัซเซลล์ ประเทศเบลเยี่ยม โดยมีสหภาพยุโรป เป็นเจ้าภาพแทน

ผู้นำประเทศในกลุ่มจี 7