ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอท่าวุ้ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pariwat Phromjeen (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 210: บรรทัด 210:
| align=center style="background:#cccccc;" | — ||style="background:#cccccc;"| รวม ||align=right style="background:#cccccc;" | 49,489 ||align=right style="background:#cccccc;" | 49,694 || align=right style="background:#cccccc;" | 49,801 || align=right style="background:#cccccc;" | 49,880 || align=right style="background:#cccccc;" | 49,912 || align=right style="background:#cccccc;" | 49,710 || align=right style="background:#cccccc;" | 49,651 || align=right style="background:#cccccc;" | 49,639 || align=right style="background:#cccccc;" | 49,803 ||
| align=center style="background:#cccccc;" | — ||style="background:#cccccc;"| รวม ||align=right style="background:#cccccc;" | 49,489 ||align=right style="background:#cccccc;" | 49,694 || align=right style="background:#cccccc;" | 49,801 || align=right style="background:#cccccc;" | 49,880 || align=right style="background:#cccccc;" | 49,912 || align=right style="background:#cccccc;" | 49,710 || align=right style="background:#cccccc;" | 49,651 || align=right style="background:#cccccc;" | 49,639 || align=right style="background:#cccccc;" | 49,803 ||
|}
|}

== การคมนาคม ==
* [[สถานีรถไฟความเร็วสูงลพบุรี]] (อนาคต)


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:57, 1 มิถุนายน 2560

อำเภอท่าวุ้ง
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Tha Wung
คำขวัญ: 
ท่าวุ้งมีมานานโบราณกล่าว
เขาได้เอาคลองน้ำมาทำชื่อ
คลองวกวนเว้าดุจเขากระบือ
แต่คนซื่อไม่คดตามเหมือนน้ำคลอง
แผนที่จังหวัดลพบุรี เน้นอำเภอท่าวุ้ง
แผนที่จังหวัดลพบุรี เน้นอำเภอท่าวุ้ง
พิกัด: 14°48′54″N 100°30′42″E / 14.81500°N 100.51167°E / 14.81500; 100.51167
ประเทศ ไทย
จังหวัดลพบุรี
พื้นที่
 • ทั้งหมด242.8 ตร.กม. (93.7 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2557)
 • ทั้งหมด49,801 คน
 • ความหนาแน่น205.11 คน/ตร.กม. (531.2 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 15150, 15180 (เฉพาะตำบลเขาสมอคอน)
รหัสภูมิศาสตร์1605
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอท่าวุ้ง ถนนลพบุรี-สิงห์บุรี ตำบลท่าวุ้ง อำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี 15150
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

อำเภอท่าวุ้ง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี เดิมชื่อ อำเภอโพหวี ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน[1]

ที่ตั้งและอาณาเขต

อำเภอท่าวุ้งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้

การแบ่งเขตการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอท่าวุ้งแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 11 ตำบล 128 หมู่บ้าน ได้แก่

1. ท่าวุ้ง (Tha Wung) 12 หมู่บ้าน 7. เขาสมอคอน (Khao Samo Khon) 13 หมู่บ้าน
2. บางคู้ (Bang Khu) 15 หมู่บ้าน 8. หัวสำโรง (Hua Samrong) 15 หมู่บ้าน
3. โพตลาดแก้ว (Pho Talat Kaeo) 10 หมู่บ้าน 9. ลาดสาลี่ (Lat Sali) 7 หมู่บ้าน
4. บางลี่ (Bang Li) 16 หมู่บ้าน 10. บ้านเบิก (Ban Boek) 11 หมู่บ้าน
5. บางงา (Bang Nga) 13 หมู่บ้าน 11. มุจลินท์ (Mutchalin) 9 หมู่บ้าน
6. โคกสลุด (Khok Salut) 7 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอท่าวุ้งประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 12 แห่ง ได้แก่


ประชากรในตำบล

      หมายถึงจำนวนประชากรได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน
      หมายถึงจำนวนประชากรได้ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน
อันดับ
(ปีล่าสุด)
ตำบลในอำเภอท่าวุ้ง พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551
1 เขาสมอคอน 6,776 6,831 6,863 6,861 6,815 6,807 6,819 6,841 6,848
2 หัวสำโรง 6,733 6,783 6,791 6,784 6,822 6,821 6,853 6,802 6,835
3 บ้านเบิก 5,359 5,318 5,293 5,324 5,275 5,209 5,212 5,213 5,183
4 ท่าวุ้ง 5,260 5,306 5,346 5,376 5,419 5,361 5,381 5,407 5,526
5 บางลี่ 5,089 5,111 5,102 5,123 5,121 5,108 5,092 5,084 5,080
6 โพตลาดแก้ว 4,925 4,940 4,947 4,912 4,902 4,859 4,809 4,814 4,814
7 บางคู้ 4,822 4,838 4,863 4,845 4,848 4,849 4,877 4,859 4,891
8 บางงา 4,627 4,660 4,665 4,689 4,690 4,705 4,667 4,650 4,644
9 มุจลินท์ 2,420 2,429 2,429 2,454 2,451 2,466 2,453 2,447 2,459
10 โคกสลุด 1,974 1,982 1,988 2,004 2,037 1,967 1,972 2,000 1,994
11 ลาดสาลี่ 1,504 1,496 1,514 1,516 1,532 1,558 1,524 1,522 1,529
รวม 49,489 49,694 49,801 49,880 49,912 49,710 49,651 49,639 49,803

การคมนาคม

อ้างอิง

  1. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนชื่ออำเภอ. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 34 ตอนที่ ๐ ก วันที่ 29 เมษายน 2460.