ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภากาชาดไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Longlivethekingofthailand (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
อิกคิวซัง (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 116: บรรทัด 116:
=== องค์บรมราชูปถัมภิกา ===
=== องค์บรมราชูปถัมภิกา ===
* 2 มี.ค. 2497 - 22 พ.ค. 2527 [[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี]]ในรัชกาลที่ 7 - องค์บรมราชูปถัมภิกาแห่งกองบรรเทาทุกข์และอนามัย <ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2497/D/051/1843.PDF</ref>
* 2 มี.ค. 2497 - 22 พ.ค. 2527 [[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี]]ในรัชกาลที่ 7 - องค์บรมราชูปถัมภิกาแห่งกองบรรเทาทุกข์และอนามัย <ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2497/D/051/1843.PDF</ref>
* 6 เม.ย. 2497 - 12 ส.ค. 2499 [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] - องค์บรมราชูปถัมภิกาแห่งอนุกาชาดไทย <ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2497/D/051/1842_1.PDF</ref>
* 6 เม.ย. 2497 - 12 ส.ค. 2499 [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ|สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี]] - องค์บรมราชูปถัมภิกาแห่งอนุกาชาดไทย <ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2497/D/051/1842_1.PDF</ref>


=== องค์อุปถัมภิกา ===
=== องค์อุปถัมภิกา ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:55, 27 พฤษภาคม 2560

สภากาชาดไทย
กากบาทสีแดงบนพื้นสีขาว
สัญลักษณ์ของสภากาชาด
ก่อตั้ง26 เมษายน พ.ศ 2436
ประเภทองค์กรสาธารณกุศลไม่แสวงหาผลกำไร
ที่ตั้ง
ภาษาทางการ
ภาษาไทย
อุปนายิกา
ผู้อำนวยการ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เลขาธิการ
แผน วรรณเมธี
เว็บไซต์www.redcross.or.th

สภากาชาดไทย เป็นสภากาชาดประจำประเทศไทย มีภารกิจปกป้องชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) เดิมเรียก "สภาอุณาโลมแดงแห่งชาติสยาม" ริเริ่มก่อตั้งโดยท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงษ์ ซึ่งมีสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงทรงเป็นสภานายิกาพระองค์แรก สันนิบาตสภากาชาดมีมติรับสภากาชาดสยามเป็นสมาชิกในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2464

ประวัติ

  • พ.ศ. 2436 เกิดกรณีพิพาทระหว่าง ประเทศสยาม กับ ประเทศฝรั่งเศส เรื่องดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง ซึ่งส่งผลให้ทหารบาดเจ็บล้มตายมาก แต่ไม่มีองค์การกุศลหลักที่ทำหน้าที่ช่วยเหลือพยาบาลและบรรเทาทุกข์ ดังนั้น ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ จึงได้ชักชวนสตรีอาสาสมัครขึ้น และได้กราบบังคมทูล สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี เพื่อขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ตั้ง "สภาอุณาโลมแดงแห่งชาติสยาม" เมื่อความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชกระแสว่า เป็นความคิดอันดีตามแบบอย่างประเทศที่เจริญแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้ง "สภาอุณาโลมแดง" ขึ้น เมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2436 ซึ่งถือเป็น "วันสถาปนาสภากาชาดไทย" นอกจากนี้ ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี ทรงเป็น"สภาชนนี" สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระวรราชเทวี ทรงเป็น"สภานายิกา" และท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงษ์ เป็นเลขานุการิณีสภาอุณาโลมแดง [1]

สภาอุณาโลมแดง

ทานมยูปถัมภก์

ผู้บำรุงการอย่างสูงสุด

ผู้บำรุงการ

สภาชนนี

กรรมการิณีสภา

สภานายิกา

อุปนายิกา

เลขานุการิณี

ผู้ช่วยเลขานุการิณี

เหรัญญิกา

ผู้ช่วยเหรัญญิกา

  • จ่าง ภรรยาเจ้าหมื่นศรีสรรักษ์

กรรมการิณี

อนุกูลกรรมการิณี

สภากาชาดสยาม-สภากาชาดไทย

สภานายิกา

องค์บรมราชูปถัมภิกา

องค์อุปถัมภิกา

อุปนายก-อุปนายิกา

งานกาชาด

งานกาชาด เป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อหารายได้บำรุงสภากาชาดไทย มีการจัดงานทั้งในกรุงเทพมหานคร และจังหวัดต่างๆ ในกรุงเทพมหานครจัดที่บริเวณ ลานพระบรมรูปทรงม้า, สวนอัมพร และสนามเสือป่า ประมาณปลายเดือนมีนาคม ถึงต้นเดือนเมษายนของทุกปี เป็นเวลา 9 วัน เช่น ในปี พ.ศ. 2548 จัดระหว่างวันที่ 30 มีนาคม ถึง 7 เมษายน.

ภายในงานจะมีการออกร้านจำหน่ายสินค้าราคาถูก, บริการตรวจสุขภาพ, จำหน่ายสลากรางวัล "สลากกาชาด" เป็นต้น ซึ่งร้านในงานมาจากหน่วยงานต่างๆ เช่น หน่วยงานรัฐ, กองทัพ, สถานีโทรทัศน์, โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย ตลอดจนถึงบริษัทเอกชน.

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2436
  2. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2463
  3. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2499
  4. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2497/D/051/1843.PDF
  5. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2497/D/051/1842_1.PDF
  6. พระกรณียกิจ - พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ
  7. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2457
  8. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2463
  9. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2475
  10. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2482
  11. ประกาศจากราชกิจจานุเบกสา วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486 (ตัวสะกดตามต้นฉบับ)
  12. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2491
  13. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503
  14. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2507
  15. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2512
  16. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2520

แหล่งข้อมูลอื่น

References