ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟังก์ชันเป็นคาบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
อีกตัวอย่างหนึ่งสามารถสังเกตได้จากฟังก์ชัน ''f'' ที่ให้ผลลัพธ์เป็น "เศษหลังจุดทศนิยม" ของตัวแปรต้น
อีกตัวอย่างหนึ่งสามารถสังเกตได้จากฟังก์ชัน ''f'' ที่ให้ผลลัพธ์เป็น "เศษหลังจุดทศนิยม" ของตัวแปรต้น
::''f''(0.5) = ''f''(1.5) = ''f''(2.5) = ... = 0.5
::''f''(0.5) = ''f''(1.5) = ''f''(2.5) = ... = 0.5
ซึ่งจะมีช่วงที่ซ้ำกันบนคาบ ''P'' เท่ากับ 1 ซึ่งกราฟของฟังก์ชันนี้สามารถเขียนเป็นรูป[[คลื่นฟันเลื่อย]] (sawtooth wave)
ซึ่งจะมีช่วงที่ซ้ำกันบนคาบ ''P'' ที่เท่ากับ 1 และกราฟของฟังก์ชันนี้เป็นรูป[[คลื่นฟันเลื่อย]] (sawtooth wave)


[[หมวดหมู่:แคลคูลัส]]
[[หมวดหมู่:แคลคูลัส]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:20, 28 สิงหาคม 2550

ฟังก์ชันเป็นคาบ (periodic function) ในทางคณิตศาสตร์หมายถึงฟังก์ชันที่ให้ผลลัพธ์ออกมาเป็นค่าที่ซ้ำกัน บนช่วงจำกัดหนึ่งๆ เรียกว่า คาบ ซึ่งบวกเข้ากับตัวแปรต้น ตัวอย่างในชีวิตประจำวันจะสามารถเห็นได้จากตัวแปรต้นที่เป็นเวลา เช่นเข็มนาฬิกาหรือข้างขึ้นข้างแรมของดวงจันทร์ จะแสดงพฤติกรรมที่ซ้ำกันเป็นช่วงๆ

นิยาม

สำหรับฟังก์ชันบนจำนวนจริงหรือจำนวนเต็มที่ให้ค่าซ้ำกันเป็นช่วงๆ นั่นหมายความว่ากราฟทั้งหมดของฟังก์ชันนั้นสามารถวาดได้จากการคัดลอกกราฟในช่วงที่ซ้ำกันต่อไปเรื่อยๆ หรือในทางที่เจาะจงกว่านี้ ฟังก์ชัน f จะเรียกว่าฟังก์ชันเป็นคาบ บนทุกๆ คาบ P ที่มากกว่าศูนย์ เมื่อ

สำหรับทุกค่าของ x ที่อยู่ในโดเมนของ f

และเมื่อ f เป็นฟังก์ชันเป็นคาบแล้ว จะได้

สำหรับทุกค่าของ n ที่เป็นจำนวนเต็ม

ตัวอย่าง

จากนิยามข้างต้น หากค่า P เท่ากับ 1 จะได้ f(x) = f(x + 1) = f(x + 2) = ... และเนื่องจากคาบของฟังก์ชันไม่จำเป็นต้องเป็นค่าที่น้อยที่สุด ดังนั้นตามตัวอย่างที่กล่าวมา ค่า P อาจสามารถเท่ากับ 2 ก็ได้

อีกตัวอย่างหนึ่งสามารถสังเกตได้จากฟังก์ชัน f ที่ให้ผลลัพธ์เป็น "เศษหลังจุดทศนิยม" ของตัวแปรต้น

f(0.5) = f(1.5) = f(2.5) = ... = 0.5

ซึ่งจะมีช่วงที่ซ้ำกันบนคาบ P ที่เท่ากับ 1 และกราฟของฟังก์ชันนี้เป็นรูปคลื่นฟันเลื่อย (sawtooth wave)