ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันชาติสาธารณรัฐจีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18: บรรทัด 18:


== การเฉลิมฉลองในไต้หวัน ==
== การเฉลิมฉลองในไต้หวัน ==
[[File:DoubleTenDayParadeOctober101966.jpg|right|thumb|250px|[[Generalissimo|จอมทัพ]] อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน [[เจียง ไคเชก]] เป็นประธานในวันชาติสาธารณรัฐจีน ในปี ค.ศ. 1966]]
{{โครง-ส่วน}}
ในระหว่างการสถาปนา[[สาธารณรัฐจีน (2455–2492)|สาธารณรัฐจีน]]ในแผ่นดินใหญ่ของจีน เกาะ[[ไต้หวัน]]ตกอยู่ภายใต้[[ไต้หวันภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น|การปกครองของญี่ปุ่น]]ซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 และสิ้นสุดในปี ค.ศ. 1945 หลังการประกาศยอมแพ้ของ[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ไต้หวันได้รับเอกราชและได้กลับมาเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐจีนอีกครั้ง


ในไต้หวัน การเฉลิมฉลองอย่างเป็นทางการเริ่มจากการประดับ[[ธงชาติสาธารณรัฐจีน]]หน้าบริเวณ[[ทำเนียบประธานาธิบดีไทเป|ทำเนียบประธานาธิบดี]]ควบคู่ไปกับการร้อง[[เพลงชาติสาธารณรัฐจีน]] ในที่สาธารณะ และจะมีการเฉลิมฉลองที่ทำเนียบประธานาธิบดีเป็นที่แรก จากนั้นจะมีการสวนสนามของกองทัพแห่งชาติ หรือ [[พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีน]] การเฉลิมฉลองยังประกอบด้วย วัฒนธรรมแบบจีนและวัฒนธรรมพื้นแบบไต้หวัน อาทิเช่น [[การเชิดสิงโต]], [[การเชิดมังกร]], วงบรรเลงตีกลอง และการแสดงพื้นเมืองของ[[ชาวพื้นเมืองไต้หวัน]] เมื่อถึงเวลากลางคืน [[รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน|ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน]]จะออกอากาศถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์อวยพรประชาชน และจะมีการยิง[[ดอกไม้ไฟ]]ตามเมืองสำคัญๆทั่วเกาะไต้หวัน
=== พิธีสวนสนามของทหาร ===
=== พิธีสวนสนามของทหาร ===
{{บทความหลัก|พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีน}}
{{บทความหลัก|พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีน}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:07, 20 พฤษภาคม 2560

วันชาติแห่งสาธารณรัฐจีน
สัญลักษณ์ของวันดับเบิลเท็น (เกิดจากการรวมของอักษรจีน คำว่า () "ที่แปลว่า 10" ซ้ำสองครั้ง หรือ "วันสองสิบ")
ชื่ออื่นวันดับเบิลเท็น, ดับเบิลเท็นเดย์
จัดขึ้นโดย สาธารณรัฐจีน
ประเภทประวัติศาสตร์, วัฒนธรรม, ประชาธิปไตย, ชาตินิยม
การเฉลิมฉลองเทศกาล ดอกไม้ไฟ, การเชิดมังกรและคอนเสิร์ต
วันที่10 ตุลาคม
ความถี่ทุกปี

วันดับเบิลเท็น (จีนตัวย่อ: 双十节; จีนตัวเต็ม: 雙十節; พินอิน: Shuāng Shí Jié) เป็นวันชาติของสาธารณรัฐจีน และเฉลิมฉลองการเริ่มต้นของการลุกฮือหวูชาง เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2454 ซึ่งนำไปสู่การล่มสลายของราชวงศ์ชิงและการสถาปนาสาธารณรัฐจีนเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2455 ดังนั้นรัฐบาลจึงกำหนดวันดังกล่าวให้เป็น วันเฉลิมฉลองชาติ (จีนตัวย่อ: 国庆日; จีนตัวเต็ม: 國慶日; พินอิน: Guóqìng Rì)[1]

ด้วยผลของสงครามกลางเมืองจีน รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐจีนสูญเสียการควบคุมจีนแผ่นดินใหญ่ และอพยพไปยังเกาะไต้หวันใน พ.ศ. 2492 วันเฉลิมฉลองชาติปัจจุบันเฉลิมฉลองในเขตเสรีซึ่งยังคงอยู่ภายใต้การปกครองของสาธารณรัฐ แต่ชาวจีนโพ้นทะเลบางส่วนก็เฉลิมฉลองด้วยเช่นกัน

การเฉลิมฉลองในไต้หวัน

จอมทัพ อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน เจียง ไคเชก เป็นประธานในวันชาติสาธารณรัฐจีน ในปี ค.ศ. 1966

ในระหว่างการสถาปนาสาธารณรัฐจีนในแผ่นดินใหญ่ของจีน เกาะไต้หวันตกอยู่ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่นซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 และสิ้นสุดในปี ค.ศ. 1945 หลังการประกาศยอมแพ้ของจักรวรรดิญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่สอง ไต้หวันได้รับเอกราชและได้กลับมาเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐจีนอีกครั้ง

ในไต้หวัน การเฉลิมฉลองอย่างเป็นทางการเริ่มจากการประดับธงชาติสาธารณรัฐจีนหน้าบริเวณทำเนียบประธานาธิบดีควบคู่ไปกับการร้องเพลงชาติสาธารณรัฐจีน ในที่สาธารณะ และจะมีการเฉลิมฉลองที่ทำเนียบประธานาธิบดีเป็นที่แรก จากนั้นจะมีการสวนสนามของกองทัพแห่งชาติ หรือ พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีน การเฉลิมฉลองยังประกอบด้วย วัฒนธรรมแบบจีนและวัฒนธรรมพื้นแบบไต้หวัน อาทิเช่น การเชิดสิงโต, การเชิดมังกร, วงบรรเลงตีกลอง และการแสดงพื้นเมืองของชาวพื้นเมืองไต้หวัน เมื่อถึงเวลากลางคืน ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีนจะออกอากาศถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์อวยพรประชาชน และจะมีการยิงดอกไม้ไฟตามเมืองสำคัญๆทั่วเกาะไต้หวัน

พิธีสวนสนามของทหาร

การเฉลิมฉลองนอกดินแดนไต้หวัน

จีนแผ่นดินใหญ่

ฮ่องกง และ มาเก๊า

ดินแดนโพ้นทะเล

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น