ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวคะนอง (ภาพยนตร์)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poompong1986 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎รางวัล: เปลี่ยนโค้ด
บรรทัด 48: บรรทัด 48:
|รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
|รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
| อิเล็คทริคอีลฟิล์ม/ซีเนม่าทเวนตี้ทู/วี.เอส เซอร์วิส
| อิเล็คทริคอีลฟิล์ม/ซีเนม่าทเวนตี้ทู/วี.เอส เซอร์วิส
| {{won}}
| style="background: #ddffdd" | ได้รับรางวัล
|-
|-
|รางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
|รางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
|อโนชา สุวิชากรพงศ์
|อโนชา สุวิชากรพงศ์
| {{won}}
| style="background: #ddffdd" | ได้รับรางวัล
|-
|-
|ผู้แสดงสมทบชายยอดเยี่ยม
|ผู้แสดงสมทบชายยอดเยี่ยม
|[[ณัฐดนัย วังศิริไพศาล]]
|[[ณัฐดนัย วังศิริไพศาล]]
|{{nom}}
|style="background: #ffdddd" | เสนอชื่อเข้าชิง
|-
|-
|ผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม
|ผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม
|อภิญญา สกุลเจริญสุข
|อภิญญา สกุลเจริญสุข
|{{nom}}
|style="background: #ffdddd" | เสนอชื่อเข้าชิง
|-
|-
|ผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม
|ผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม
|อัจฉรา สุวรรณ
|อัจฉรา สุวรรณ
|{{nom}}
|style="background: #ffdddd" | เสนอชื่อเข้าชิง
|-
|-
|บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
|บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
|อโนชา สุวิชากรพงศ์
|อโนชา สุวิชากรพงศ์
|{{nom}}
|style="background: #ffdddd" | เสนอชื่อเข้าชิง
|-
|-
|ถ่ายภาพยอดเยี่ยม
|ถ่ายภาพยอดเยี่ยม
|Ming Kai Leung
|Ming Kai Leung
|{{nom}}
|style="background: #ffdddd" | เสนอชื่อเข้าชิง
|-
|-
|ลำดับภาพยอดเยี่ยม
|ลำดับภาพยอดเยี่ยม
|[[ลี ชาตะเมธีกุล]], [[มัชฌิมา อึ๊งศรีวงษ์]]
|[[ลี ชาตะเมธีกุล]], [[มัชฌิมา อึ๊งศรีวงษ์]]
| {{won}}
| style="background: #ddffdd" | ได้รับรางวัล
|-
|-
|บันทึกเสียงและผสมเสียงยอดเยี่ยม
|บันทึกเสียงและผสมเสียงยอดเยี่ยม
|อัคริศเฉลิม กัลยาณมิตร, เฉลิมรัฐ กวีวัฒนา
|อัคริศเฉลิม กัลยาณมิตร, เฉลิมรัฐ กวีวัฒนา
|{{nom}}
|style="background: #ffdddd" | เสนอชื่อเข้าชิง
|-
|-
|เพลงนำภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
|เพลงนำภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
|เพลง : Lie – อารักษ์ อมรศุภศิริ
|เพลง : Lie – อารักษ์ อมรศุภศิริ
|{{nom}}
|style="background: #ffdddd" | เสนอชื่อเข้าชิง
|-
|-
|ออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม
|ออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม
|รุจิรำไพ มงคล
|รุจิรำไพ มงคล
|{{nom}}
|style="background: #ffdddd" | เสนอชื่อเข้าชิง
|}
|}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:09, 6 มีนาคม 2560

ดาวคะนอง
กำกับอโนชา สุวิชากรพงศ์
เขียนบทอโนชา สุวิชากรพงศ์
อำนวยการสร้างSoros Sukhum
Benjawan Somsin
Edward Gunawan
Lee Chatametikool
Anocha Suwichakornpong
Executive produced by Chayamporn Taeratanachai
Pithai Smithsuth
Co-produced by Guillaume Morel
นักแสดงนำวิศรา วิจิตรวาทการ
อารักษ์ อมรศุภศิริ
อภิญญา สกุลเจริญสุข
เพ็ญพักตร์ ศิริกุล
รัศมี เผ่าเหลืองทอง
อัจฉรา สุวรรณ์
วันฉาย10 สิงหาคม พ.ศ. 2559 (ปฐมทัศน์ที่สวิตเซอร์แลนด์)
8 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (ไทย)
ความยาว105 นาที
ประเทศไทย
ภาษาไทย
ข้อมูลจาก IMDb

ดาวคะนอง (By the time it gets dark) เป็นภาพยนตร์ไทย กำกับโดยอโนชา สุวิชากรพงศ์ นำแสดงโดยวิศรา วิจิตรวาทการ, อารักษ์ อมรศุภศิริ, อภิญญา สกุลเจริญสุข, เพ็ญพักตร์ ศิริกุล, รัศมี เผ่าเหลืองทอง และ อัจฉรา สุวรรณ์ เริ่มฉายรอบปฐมทัศน์โลกที่โลการ์โน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์[1] หลังจากนั้นออกฉายที่ประเทศเกาหลีใต้, อังกฤษ, แคนาดา และฮ่องกง ฯลฯ ส่วนในประเทศไทย อโนชาเลือกจะจัดฉายหนังรอบพิเศษสำหรับแขกรับเชิญเฉพาะกลุ่มในคืนวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เพื่อรำลึกถึงวาระครบรอบ 40 ปี เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 และฉายรอบปกติ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ดาวคะนอง ได้รับทุนสนับสนุน Prince Claus Film Fund Award และ Hubert Bals Plus Europe จากประเทศเนเธอร์แลนด์ ทุนไทยเข้มแข็ง จาก กระทรวงวัฒนธรรม และทุน Doha Film Fund จากประเทศกาตาร์

ชื่อของภาพยนตร์ไม่ได้เกี่ยวข้องกับดาวคะนองในเขตจอมทอง ผู้สร้างเห็นว่า เมื่อขับรถขึ้นไปทางด่วนมักจะเห็นป้ายดาวคะนองเสมอ จึงเปรียบดาวคะนองเป็นเหมือนทางผ่าน และอีกนัยยะหนึ่ง หมายถึงคน ซึ่งทุกคนก็เป็นดาวในตัวเอง[2] อโนชาเริ่มเขียนบทภาพยนตร์ร่างแรกของ ดาวคะนอง ตั้งแต่ปี 2552 หลังจากเสร็จสิ้นจากภาพยนตร์ขนาดยาวเรื่องแรกของตนเองเรื่อง เจ้านกกระจอก โดย ดาวคะนอง เป็นภาพยนตร์ที่ว่าด้วยการเมืองในเดือนตุลาคม

ภาพยนตร์ เล่าเรื่องภาวะที่เกี่ยวข้องกันอย่างหลวม ๆ ระหว่างตัวละครหลากหลายกลุ่ม ได้แก่ ผู้กำกับภาพยนตร์หญิงและผู้เป็นแรงบันดาลใจของเธอ ซึ่งเคยเป็นอดีตนักศึกษา นักกิจกรรมในทศวรรษ 2510, บริกรสาวผู้เปลี่ยนงานอยู่เป็นประจำ และนักแสดงชาย หญิงคู่หนึ่ง

มติชนสุดสัปดาห์ วิจารณ์ว่า "หนังของอโนชากลับจัดวาง “เรื่องเล่า” หลาย ๆ ชั้น ไว้อย่างกระจัดกระจาย ปราศจากระบบระเบียบ จนกลายเป็น “องค์ขาด” ซึ่งไม่สามารถบอกเล่าถึง “ภาพรวม” ของประวัติศาสตร์หน้าไหนหรือการต่อสู้ใด ๆ ได้อย่างชัดเจน"[3] อะเดย์ พูดในทำนองคล้าย ๆ กันว่าภาพยนตร์ "เหมือนเศษของดาวที่แตกกระจายเป็นเสี่ยง ๆ จนไม่ง่ายนักที่จะทำความเข้าใจ แต่เศษเสี้ยวนี้จะเข้าไปสร้างผลกระทบให้เกิดขึ้นในจิตใจคนดูแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ ความเข้าใจเรื่องสังคมไทยในหลายมิติ ทั้งประวัติศาสตร์การเมือง เศรษฐกิจ ระบบทุนนิยมและความล่องลอยของมนุษย์เมือง"[4]

รางวัล

ปี รายการ รางวัล/สาขา ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผล
พ.ศ. 2560 รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 26[5] รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม อิเล็คทริคอีลฟิล์ม/ซีเนม่าทเวนตี้ทู/วี.เอส เซอร์วิส ชนะ
รางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม อโนชา สุวิชากรพงศ์ ชนะ
ผู้แสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ณัฐดนัย วังศิริไพศาล เสนอชื่อเข้าชิง
ผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม อภิญญา สกุลเจริญสุข เสนอชื่อเข้าชิง
ผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม อัจฉรา สุวรรณ เสนอชื่อเข้าชิง
บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม อโนชา สุวิชากรพงศ์ เสนอชื่อเข้าชิง
ถ่ายภาพยอดเยี่ยม Ming Kai Leung เสนอชื่อเข้าชิง
ลำดับภาพยอดเยี่ยม ลี ชาตะเมธีกุล, มัชฌิมา อึ๊งศรีวงษ์ ชนะ
บันทึกเสียงและผสมเสียงยอดเยี่ยม อัคริศเฉลิม กัลยาณมิตร, เฉลิมรัฐ กวีวัฒนา เสนอชื่อเข้าชิง
เพลงนำภาพยนตร์ยอดเยี่ยม เพลง : Lie – อารักษ์ อมรศุภศิริ เสนอชื่อเข้าชิง
ออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม รุจิรำไพ มงคล เสนอชื่อเข้าชิง

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น