ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศปากีสถานในเครือจักรภพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เครือรัฐ" → "อธิรัฐ" ด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox Former Country
{{Infobox Former Country
|native_name =
|native_name =
|conventional_long_name = เครือรัฐปากีสถาน<ref>มาตรา 1 แห่งพระราชบัญญติอิสรภาพของอินเดีย ค.ศ. 1947 บัญญัติไว้ว่า ''"และตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม 1947 เป็นต้นไป เครือรัฐเอกราชทั้งสองจะถูกตั้งขึ้นในอินเดีย ซึ่งจะเป็นที่รู้จักในชื่อ "อินเดีย" และ "ปากีสถาน" ตามลำดับ"''</ref>
|conventional_long_name = อธิรัฐปากีสถาน<ref>มาตรา 1 แห่งพระราชบัญญติอิสรภาพของอินเดีย ค.ศ. 1947 บัญญัติไว้ว่า ''"และตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม 1947 เป็นต้นไป อธิรัฐเอกราชทั้งสองจะถูกตั้งขึ้นในอินเดีย ซึ่งจะเป็นที่รู้จักในชื่อ "อินเดีย" และ "ปากีสถาน" ตามลำดับ"''</ref>
|common_name =ปากีสถาน
|common_name =ปากีสถาน
|status =
|status =
บรรทัด 33: บรรทัด 33:
|symbol_type = ตราแผ่นดิน
|symbol_type = ตราแผ่นดิน
|image_map = Dominion of Pakistan & Indian Controlled Kashmir (orthographic projection).svg
|image_map = Dominion of Pakistan & Indian Controlled Kashmir (orthographic projection).svg
|image_map_caption = เครือรัฐปากีสถาน ค.ศ. 1956
|image_map_caption = อธิรัฐปากีสถาน ค.ศ. 1956
|
|
|capital = [[การาจี]]<!--NOT ISLAMABAD: ISLAMABAD BECAME THE CAPITAL OF THE ISLAMIC REPUBLIC AND WAS NEVER THE CAPITAL OF THE DOMINION-->
|capital = [[การาจี]]<!--NOT ISLAMABAD: ISLAMABAD BECAME THE CAPITAL OF THE ISLAMIC REPUBLIC AND WAS NEVER THE CAPITAL OF THE DOMINION-->
บรรทัด 76: บรรทัด 76:
}}
}}


'''ประเทศปากีสถาน''' ({{lang-bn|পাকিস্তান অধিরাজ্য}} [[ภาษาอูรดู|อูรดู]]: مملکتِ پاکستان) ระหว่างปี ค.ศ. 1947–1956 หรือเรียกอย่างเข้าใจว่า '''เครือรัฐปากีสถาน''' ({{lang-en|Dominion of Pakistan}}) เป็นประเทศเอกราชในทวีปเอเชียใต้ จัดตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1947 เมื่อรัฐสภาอังกฤษได้ตรา[[พระราชบัญญัติอิสรภาพของอินเดีย ค.ศ. 1947]] ขึ้น ซึ่งตามพระราชบัญญัติดังกล่าวได้แบ่ง[[บริติชราช|จักรวรรดิอินเดีย]]ออกเป็นสองเครือรัฐเอกราช คือ อินเดีย และ ปากีสถาน โดยทั้งสองเครือรัฐต่างมีเอกราชเป็นของตนเองโดยยอมรับกษัตริย์อังกฤษเป็นพระเจ้าแผ่นดิน
'''ประเทศปากีสถาน''' ({{lang-bn|পাকিস্তান অধিরাজ্য}} [[ภาษาอูรดู|อูรดู]]: مملکتِ پاکستان) ระหว่างปี ค.ศ. 1947–1956 หรือเรียกอย่างเข้าใจว่า '''อธิรัฐปากีสถาน''' ({{lang-en|Dominion of Pakistan}}) เป็นประเทศเอกราชในทวีปเอเชียใต้ จัดตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1947 เมื่อรัฐสภาอังกฤษได้ตรา[[พระราชบัญญัติอิสรภาพของอินเดีย ค.ศ. 1947]] ขึ้น ซึ่งตามพระราชบัญญัติดังกล่าวได้แบ่ง[[บริติชราช|จักรวรรดิอินเดีย]]ออกเป็นสองอธิรัฐเอกราช คือ อินเดีย และ ปากีสถาน โดยทั้งสองอธิรัฐต่างมีเอกราชเป็นของตนเองโดยยอมรับกษัตริย์อังกฤษเป็นพระเจ้าแผ่นดิน


เครือรัฐปากีสถานกินพื้นที่ในส่วนที่เป็น[[ประเทศปากีสถาน]]และ[[ประเทศบังกลาเทศ]]ในปัจจุบัน โดยส่วนที่เป็นประเทศปากีสถานในปัจจุบันนั้นเรียกว่า "ปากีสถานตะวันตก" และส่วนที่เป็นประเทศบังกลาเทศในปัจจุบันนั้นเรียกว่า "เบงกอลตะวันออก" สาเหตุที่อังกฤษแยกเครือรัฐปากีสถานออกมาจากอินเดียก็เพื่อต้องการให้ปากีสถานและบังกลาเทศเป็นรัฐที่อยู่ของชาวมุสลิมในอดีต[[บริติชราช]]จากผลของ[[ทฤษฎีสองชาติ]]
อธิรัฐปากีสถานกินพื้นที่ในส่วนที่เป็น[[ประเทศปากีสถาน]]และ[[ประเทศบังกลาเทศ]]ในปัจจุบัน โดยส่วนที่เป็นประเทศปากีสถานในปัจจุบันนั้นเรียกว่า "ปากีสถานตะวันตก" และส่วนที่เป็นประเทศบังกลาเทศในปัจจุบันนั้นเรียกว่า "เบงกอลตะวันออก" สาเหตุที่อังกฤษแยกอธิรัฐปากีสถานออกมาจากอินเดียก็เพื่อต้องการให้ปากีสถานและบังกลาเทศเป็นรัฐที่อยู่ของชาวมุสลิมในอดีต[[บริติชราช]]จากผลของ[[ทฤษฎีสองชาติ]]


เครือรัฐปากีสถานสิ้นสุดลงในวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1956 เมื่อได้มีการสถาปนารัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐปากีสถานขึ้นโดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ และถือเป็นชาติสมาชิกใน[[เครือจักรภพแห่งประชาชาติ]]
อธิรัฐปากีสถานสิ้นสุดลงในวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1956 เมื่อได้มีการสถาปนารัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐปากีสถานขึ้นโดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ และถือเป็นชาติสมาชิกใน[[เครือจักรภพแห่งประชาชาติ]]
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:09, 27 ธันวาคม 2559

อธิรัฐปากีสถาน[1]

ค.ศ. 1947–1956[2]
ตราแผ่นดินของปากีสถาน
ตราแผ่นดิน
คำขวัญایمان ، اتحاد ، تنظیم
"ศรัทธา, เอกภาพ, พระวินัย"
อธิรัฐปากีสถาน ค.ศ. 1956
อธิรัฐปากีสถาน ค.ศ. 1956
เมืองหลวงการาจี
ภาษาทั่วไปอังกฤษ, อูรดู, เบงกาลี,
การปกครองราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
ในระบบสภาเดี่ยว
พระเจ้าแผ่นดิน 
• 1947–1952
พระเจ้าจอร์จที่ 6
• 1952–1956
เอลิซาเบธที่ 2
ข้าหลวงต่างพระองค์ 
• 1947–1948
Muhammad Ali Jinnah
• 1948–1951
Khawaja Nazimuddin
• 1951–1955
Malik Ghulam Muhammad
• 1955–1956
Iskander Mirza (Last)
นายกรัฐมนตรี 
• 1947–1951
Liaquat Ali Khan
• 1951–1953
Khawaja Nazimuddin
• 1953–1955
Muhammad Ali Bogra
• 1955–1956
Chaudhry Muhammad Ali
สภานิติบัญญัติสภานิติบัญญัติ
ประวัติศาสตร์ 
14 สิงหาคม 1947[3]
22 ตุลาคม 1947
23 มีนาคม 1956
พื้นที่
1956943,665 ตารางกิโลเมตร (364,351 ตารางไมล์)
สกุลเงินรูปีปากีสถาน
รหัส ISO 3166PK
ก่อนหน้า
ถัดไป
บริติชราช
ประเทศปากีสถาน
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ ปากีสถาน
 บังกลาเทศ
ก. ภาษาราชการ
ข. ภาษาหลัก
ค. ภาษาที่สอง

ประเทศปากีสถาน (เบงกอล: পাকিস্তান অধিরাজ্য อูรดู: مملکتِ پاکستان) ระหว่างปี ค.ศ. 1947–1956 หรือเรียกอย่างเข้าใจว่า อธิรัฐปากีสถาน (อังกฤษ: Dominion of Pakistan) เป็นประเทศเอกราชในทวีปเอเชียใต้ จัดตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1947 เมื่อรัฐสภาอังกฤษได้ตราพระราชบัญญัติอิสรภาพของอินเดีย ค.ศ. 1947 ขึ้น ซึ่งตามพระราชบัญญัติดังกล่าวได้แบ่งจักรวรรดิอินเดียออกเป็นสองอธิรัฐเอกราช คือ อินเดีย และ ปากีสถาน โดยทั้งสองอธิรัฐต่างมีเอกราชเป็นของตนเองโดยยอมรับกษัตริย์อังกฤษเป็นพระเจ้าแผ่นดิน

อธิรัฐปากีสถานกินพื้นที่ในส่วนที่เป็นประเทศปากีสถานและประเทศบังกลาเทศในปัจจุบัน โดยส่วนที่เป็นประเทศปากีสถานในปัจจุบันนั้นเรียกว่า "ปากีสถานตะวันตก" และส่วนที่เป็นประเทศบังกลาเทศในปัจจุบันนั้นเรียกว่า "เบงกอลตะวันออก" สาเหตุที่อังกฤษแยกอธิรัฐปากีสถานออกมาจากอินเดียก็เพื่อต้องการให้ปากีสถานและบังกลาเทศเป็นรัฐที่อยู่ของชาวมุสลิมในอดีตบริติชราชจากผลของทฤษฎีสองชาติ

อธิรัฐปากีสถานสิ้นสุดลงในวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1956 เมื่อได้มีการสถาปนารัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐปากีสถานขึ้นโดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ และถือเป็นชาติสมาชิกในเครือจักรภพแห่งประชาชาติ

อ้างอิง

  1. มาตรา 1 แห่งพระราชบัญญติอิสรภาพของอินเดีย ค.ศ. 1947 บัญญัติไว้ว่า "และตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม 1947 เป็นต้นไป อธิรัฐเอกราชทั้งสองจะถูกตั้งขึ้นในอินเดีย ซึ่งจะเป็นที่รู้จักในชื่อ "อินเดีย" และ "ปากีสถาน" ตามลำดับ"
  2. Timothy C. Winegard (29 December 2011). Indigenous Peoples of the British Dominions and the First World War (1st ed.). Cambridge University Press. p. 2. ISBN 978-1107014930. สืบค้นเมื่อ 11 August 2013.
  3. Singh Vipul (1 September 2009). Longman History & Civics Icse 10. Pearson Education India. pp. 132–. ISBN 978-81-317-2042-4.