ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Donut.3.59 (คุย | ส่วนร่วม)
/*เพิ่มตัวอย่างระบบปฏิบัติการ/*
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
| image = [[ไฟล์:สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก.jpg|220px]]
| image = [[ไฟล์:สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก.jpg|220px]]
| พระนาม =
| พระนาม =
| ฐานันดร =
| ฐานันดร = พระบรมมหาราชชนก
| วันประสูติ =
| วันประสูติ =
| สถานที่พระราชสมภพ = [[อาณาจักรอยุธยา|กรุงศรีอยุธยา]]
| สถานที่ประสูติ =
| วันสวรรคต = พ.ศ. 2312
| วันสวรรคต = พ.ศ. 2312 [[อาณาจักรรัตนโกสินทร์|กรุงรัตนโกสินทร์]]
| พระอิสริยยศ = สมเด็จพระ
| พระอิสริยยศ = สมเด็จพระ
| พระราชบิดา = [[พระยาราชนิกูล (ทองคำ)]]
| พระราชบิดา = [[พระยาราชนิกูล (ทองคำ)]]
| พระราชมารดา =
| พระราชมารดา =
| พระชายา = [[พระอัครชายา (หยก)]]<br>[[เจ้าจอมมารดากู่]]<br>เจ้าจอมมารดามา
| พระวรราชชายา = [[พระอัครชายา (หยก)]]<br>เจ้าจอมมารดากู่<br>เจ้าจอมมารดามา
| พระโอรส/ธิดา = 7 พระองค์
| พระราชโอรส/ธิดา = 7 พระองค์
| บุตร/ธิดา =
| บุตร/ธิดา =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
}}
}}


'''สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก''' พระนามเดิม '''ทองดี''' เป็นพระบรมราชชนกใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]
'''สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก''' พระนามเดิม '''ทองดี''' เป็นพระบรมราชชนกใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]


สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ประสูติที่[[บ้านสะแกกรัง]] [[เมืองอุทัยธานี]] ทรงเป็นบุตรคนโตของ[[พระยาราชนิกูล (ทองคำ)]] ปลัดทูลฉลองกรมมหาดไทย (บ้างก็ว่า กรมนา) ในรัชกาล[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ]] ซึ่งสืบเชื้อสายมาจาก[[เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน)]] เสนาบดีพระคลังในรัชกาล[[สมเด็จพระเพทราชา]] ผู้ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นออกพระวิสุทธสุนทร และได้เดินทางไปถวายพระราชสาส์นของ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ยังราชสำนักของ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส]] เมื่อ [[พ.ศ. 2228]]
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก พระราชสมภพที่[[บ้านสะแกกรัง]] [[เมืองอุทัยธานี]] ทรงเป็นบุตรคนโตของ[[พระยาราชนิกูล (ทองคำ)]] ปลัดทูลฉลองกรมมหาดไทย (บ้างก็ว่า กรมนา) ในรัชกาล[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ]] ซึ่งสืบเชื้อสายมาจาก[[เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน)]] เสนาบดีพระคลังในรัชกาล[[สมเด็จพระเพทราชา]] ผู้ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นออกพระวิสุทธสุนทร และได้เดินทางไปถวายพระราชสาส์นของ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ยังราชสำนักของ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส]] เมื่อ [[พ.ศ. 2228]]


สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ทรงรับราชการในกรมมหาดไทย รับบรรดาศักดิ์เป็นที่ '''หลวงพินิจอักษร''' และ '''พระอักษรสุนทรศาสตร์''' ในตำแหน่งเสมียนตรากรมมหาดไทย มีหน้าที่ร่างพระราชสาส์นโต้ตอบกับหัวเมืองฝ่ายเหนือ และเก็บรักษา[[พระราชลัญจกร]]
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ทรงรับราชการในกรมมหาดไทย รับบรรดาศักดิ์เป็นที่ '''หลวงพินิจอักษร''' และ '''พระอักษรสุนทรศาสตร์''' ในตำแหน่งเสมียนตรากรมมหาดไทย มีหน้าที่ร่างพระราชสาส์นโต้ตอบกับหัวเมืองฝ่ายเหนือ และเก็บรักษา[[พระราชลัญจกร]]


สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ทรงเสกสมรสกับสองพี่น้อง บุตรีของคหบดีชาวจีน คนพี่ชื่อว่า ''ดาวเรือง''<ref>มีหลักฐานว่า ท่านทั้งสองได้บริจาคเงินสร้างวัดชื่อ[[วัดสุวรรณดารารามราชวรวิหาร]] จึงสันนิษฐานว่า คนพี่ชื่อดาวเรือง</ref> (หรือ ''หยก'') ส่วนคนน้อง ไม่ทราบนาม ตั้งบ้านเรือนอยู่ภายในกำแพงพระนคร ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป้อมเพชร ซึ่งเป็นย่านอาศัยของชาวจีน
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ทรงอภิเษกสมรสกับสองพระพี่น้อง บุตรีของคหบดีชาวจีน คนพี่ชื่อว่า ''ดาวเรือง''<ref>มีหลักฐานว่า ท่านทั้งสองได้บริจาคเงินสร้างวัดชื่อ[[วัดสุวรรณดารารามราชวรวิหาร]] จึงสันนิษฐานว่า คนพี่ชื่อดาวเรือง</ref> (หรือ ''หยก'') ส่วนคนน้อง ไม่ทราบนาม ตั้งบ้านเรือนอยู่ภายในกำแพงพระนคร ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป้อมเพชร ซึ่งเป็นย่านอาศัยของชาวจีน


== พระโอรส-ธิดา ==
== พระราชโอรส-ธิดา ==
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก มีพระโอรส-ธิดา กับ[[พระอัครชายา (หยก)]] 5 พระองค์ คือ<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = กรมศิลปากร สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์| ชื่อหนังสือ = ราชสกุลวงศ์| URL = http://library.siamtech.ac.th/pdf/king22.pdf
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก มีพระราชโอรส-ธิดา กับ[[พระอัครชายา (หยก)]] 5 พระองค์ คือ<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = กรมศิลปากร สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์| ชื่อหนังสือ = ราชสกุลวงศ์| URL = http://library.siamtech.ac.th/pdf/king22.pdf
| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 14, กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร| ปี = 2554| ISBN = 978-974-417-594-6| จำนวนหน้า = 296| หน้า = 1-4}}</ref>
| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 14, กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร| ปี = 2554| ISBN = 978-974-417-594-6| จำนวนหน้า = 296| หน้า = 1-4}}</ref>
* [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสา กรมพระยาเทพสุดาวดี]] พระนามเดิม ''สา''
* [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสา กรมพระยาเทพสุดาวดี]] พระนามเดิม ''สา''
บรรทัด 33: บรรทัด 33:
* [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]] พระนามเดิม ''บุญมา''
* [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]] พระนามเดิม ''บุญมา''


สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก มีพระโอรส-ธิดา อีก 2 พระองค์ คือ
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก มีพระราชโอรส-ธิดา อีก 2 พระองค์ คือ
* [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุ กรมหลวงนรินทรเทวี]] พระนามเดิม ''กุ'' ประสูติแต่พระน้องนางในพระอัครชายา (ดาวเรือง)
* [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุ กรมหลวงนรินทรเทวี]] พระนามเดิม ''กุ'' ประสูติแต่พระน้องนางในพระอัครชายา (ดาวเรือง)
* [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าลา กรมหลวงจักรเจษฎา]] พระนามเดิม ''ลา'' ประสูติแต่[[บาทบริจาริกา]]ผู้หนึ่ง เรียกกันว่า คุณมา <ref>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงไว้ตามคำเล่าขานว่า บาทบริจาริกาท่านนี้เป็นน้องนางของสมเด็จพระอมรินทรามาตย์ แต่ต่างวัยกันมาก จึงเข้าใจว่า จะเป็นน้องร่วมบิดาเท่านั้น </ref>
* [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าลา กรมหลวงจักรเจษฎา]] พระนามเดิม ''ลา'' ประสูติแต่[[บาทบริจาริกา]]ผู้หนึ่ง เรียกกันว่า คุณมา <ref>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงไว้ตามคำเล่าขานว่า บาทบริจาริกาท่านนี้เป็นน้องนางของสมเด็จพระอมรินทรามาตย์ แต่ต่างวัยกันมาก จึงเข้าใจว่า จะเป็นน้องร่วมบิดาเท่านั้น </ref>
บรรทัด 39: บรรทัด 39:
พระน้องนางของพระอัครชายา (ดาวเรืองหรือหยก) มีชื่อว่า (กู่) ตามเอกสารเดิมที่อยู่ในจังหวัดอุทัยธานี
พระน้องนางของพระอัครชายา (ดาวเรืองหรือหยก) มีชื่อว่า (กู่) ตามเอกสารเดิมที่อยู่ในจังหวัดอุทัยธานี


== สวรรคต ==
== เสียชีวิต ==
ช่วง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]]ในปี [[พ.ศ. 2310]] นายทองดี พร้อมด้วยภรรยา และนายลา บุตรคนสุดท้องเดินทางไปอยู่ที่[[เมืองพิษณุโลก]] แต่นายทองดีเกิดป่วยจนเสียชีวิต นายลาและมารดา จึงได้ทำการฌาปนกิจศพตามสมควรในเวลานั้น ต่อมาจึงเชิญอัฐิบรรจุในมหาสังข์ มามอบแด่พระยาอไภยรณฤทธิ์ (รัชกาลที่ 1) ที่[[กรุงธนบุรี]]
ช่วง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]]ในปี [[พ.ศ. 2310]] นายทองดี พร้อมด้วยภรรยา และนายลา บุตรคนสุดท้องเดินทางไปอยู่ที่[[เมืองพิษณุโลก]] แต่นายทองดีเกิดป่วยจนเสียชีวิต นายลาและมารดา จึงได้ทำการฌาปนกิจศพตามสมควรในเวลานั้น ต่อมาจึงเชิญอัฐิบรรจุในมหาสังข์ มามอบแด่พระยาอไภยรณฤทธิ์ (รัชกาลที่ 1) ที่[[กรุงธนบุรี]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:30, 4 ธันวาคม 2559

สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก
สมเด็จพระ
สวรรคตพ.ศ. 2312 กรุงรัตนโกสินทร์
พระราชบุตร7 พระองค์
ราชวงศ์ราชวงศ์จักรี
พระราชบิดาพระยาราชนิกูล (ทองคำ)

สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก พระนามเดิม ทองดี เป็นพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก พระราชสมภพที่บ้านสะแกกรัง เมืองอุทัยธานี ทรงเป็นบุตรคนโตของพระยาราชนิกูล (ทองคำ) ปลัดทูลฉลองกรมมหาดไทย (บ้างก็ว่า กรมนา) ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ซึ่งสืบเชื้อสายมาจากเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) เสนาบดีพระคลังในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา ผู้ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นออกพระวิสุทธสุนทร และได้เดินทางไปถวายพระราชสาส์นของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ยังราชสำนักของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. 2228

สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ทรงรับราชการในกรมมหาดไทย รับบรรดาศักดิ์เป็นที่ หลวงพินิจอักษร และ พระอักษรสุนทรศาสตร์ ในตำแหน่งเสมียนตรากรมมหาดไทย มีหน้าที่ร่างพระราชสาส์นโต้ตอบกับหัวเมืองฝ่ายเหนือ และเก็บรักษาพระราชลัญจกร

สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ทรงอภิเษกสมรสกับสองพระพี่น้อง บุตรีของคหบดีชาวจีน คนพี่ชื่อว่า ดาวเรือง[1] (หรือ หยก) ส่วนคนน้อง ไม่ทราบนาม ตั้งบ้านเรือนอยู่ภายในกำแพงพระนคร ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป้อมเพชร ซึ่งเป็นย่านอาศัยของชาวจีน

พระราชโอรส-ธิดา

สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก มีพระราชโอรส-ธิดา กับพระอัครชายา (หยก) 5 พระองค์ คือ[2]

สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก มีพระราชโอรส-ธิดา อีก 2 พระองค์ คือ

พระน้องนางของพระอัครชายา (ดาวเรืองหรือหยก) มีชื่อว่า (กู่) ตามเอกสารเดิมที่อยู่ในจังหวัดอุทัยธานี

สวรรคต

ช่วงการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2310 นายทองดี พร้อมด้วยภรรยา และนายลา บุตรคนสุดท้องเดินทางไปอยู่ที่เมืองพิษณุโลก แต่นายทองดีเกิดป่วยจนเสียชีวิต นายลาและมารดา จึงได้ทำการฌาปนกิจศพตามสมควรในเวลานั้น ต่อมาจึงเชิญอัฐิบรรจุในมหาสังข์ มามอบแด่พระยาอไภยรณฤทธิ์ (รัชกาลที่ 1) ที่กรุงธนบุรี

พระมหาสังข์องค์นี้เป็นสังข์เวียนซ้าย ความยาว 20 เซนติเมตร ริ้วเวียนรอบหัวสังข์และปากสังข์เลี่ยมทองคำสลักลายฝังพลอย ข้างในท้องสังข์มีดอกมะเขือฝังนพเก้า ร่องปลายปากสังข์จารึกอักขระ อุมีมังสีทองคำลงยารองรับ ถือเป็นพระมหาสังข์คู่บ้านคู่เมือง ใช้หลั่งน้ำพระราชทานแก่ราชสกุล ในงานสมรสพระราชทาน กราบถวายบังคมลาไปปฏิบัติราชการต่างประเทศ ในรัชกาลต่อมาจนถึงรัชกาลปัจจุบัน

พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมอัฐิ

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรดเกล้าฯ ให้จัดพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมอัฐิ ของสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก และสมเด็จพระราชชนนี ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2338 เนื่องในวโรกาสที่มีพระชนมพรรษาครบ 60 พรรษา โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระเมรุมาศขนาดใหญ่ และมีเครื่องมหรสพสมโภช เหมือนอย่างงานพระบรมศพพระเจ้าแผ่นดินในสมัยกรุงศรีอยุธยา

พระเมรุมาศก่อสร้างแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2339 ได้มีพิธีแห่พระบรมอัฐิออกสู่พระเมรุ มีมหรสพสมโภชเป็นเวลา 7 วัน เมื่อเสร็จพระราชพิธีถวายพระเพลิงแล้วได้อัญเชิญพระบรมอัฐิ กลับมาประดิษฐาน ณ หอพระสุราลัยพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ยังได้โปรดเกล้าฯ ให้หล่อพระพุทธปฏิมากรปางห้ามสมุทร หุ้มทองคำประดับเนาวรัตน์ขึ้นองค์หนึ่ง ถวายพระนามว่า พระพุทธจักรพรรดิ ทรงอุทิศส่วนพระราชกุศลถวายแด่สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก พระพุทธรูปพระองค์นี้ประดิษฐานไว้ ณ หอพระสุราลัยพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง ประเทศไทย

พระบรมราชานุสาวรีย์

จังหวัดอุทัยธานี ได้จัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ประดิษฐานอยู่ ณ เขาแก้ว(เขาสะแกกรัง-ปัจจุบัน) ซึ่งเป็นเทือกเขาที่ทอดขนานกับแม่น้ำสะแกกรัง เมื่อ พ.ศ. 2514 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2522

พระอิสริยยศ

  • ทองดี
  • หลวงพินิจอักษร
  • พระอักษรสุนทรศาสตร์
  • สมเด็จพระราชชนกทองดี
  • สมเด็จพระปฐมบรมอัยกาเธอ
  • สมเด็จพระปฐมบรมปัยกาเธอ
  • สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก

อ้างอิงและเชิงอรรถ

  1. มีหลักฐานว่า ท่านทั้งสองได้บริจาคเงินสร้างวัดชื่อวัดสุวรรณดารารามราชวรวิหาร จึงสันนิษฐานว่า คนพี่ชื่อดาวเรือง
  2. กรมศิลปากร สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ราชสกุลวงศ์. พิมพ์ครั้งที่ 14, กรุงเทพฯ : สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, 2554. 296 หน้า. หน้า 1-4. ISBN 978-974-417-594-6
  3. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงไว้ตามคำเล่าขานว่า บาทบริจาริกาท่านนี้เป็นน้องนางของสมเด็จพระอมรินทรามาตย์ แต่ต่างวัยกันมาก จึงเข้าใจว่า จะเป็นน้องร่วมบิดาเท่านั้น

แหล่งข้อมูลอื่น