ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอเมยวดี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rittikaet (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มการอ้างอิง
Rittikaet (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มการเชื่อมโยง
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
==== ประวัติความเป็นมา ====
==== ประวัติความเป็นมา ====


กิ่งอำเภอเมยวดี ตั้งอยู่บ้านใหม่สถานี หมู่ที่ 6 ตำบลเมยวดี เดิมเป็นทุ่งนาป่าละเมาะ นายบุญตา มูลศรีแก้ว  ได้จัดซื้อที่นาเหล่านี้ แล้วจัดแบ่งให้ทางราชการเพื่อสร้างเป็นที่ว่าการกิ่งอำเภอ สถานีตำรวจ สถานีอนามัย โรงเรียน วัด และบริเวณที่ตั้งตลาดสด เป็นต้น กิ่งอำเภอเมยวดี แยกจากอำเภอโพนทอง โดยตั้งเป็นกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2521   ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง “แบ่งท้องที่อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด” ตั้งเป็น กิ่งอำเภอเมยวดี ลงวันที่ 7 มีนาคม 2521 ลงนามโดย พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีเขตการปกครอง 2 ตำบล คือ ตำบลชุมพร  และตำบลเมยวดี  
[[กิ่งอำเภอ]]เมยวดี ตั้งอยู่บ้านใหม่สถานี หมู่ที่ 6 ตำบลเมยวดี เดิมเป็นทุ่งนาป่าละเมาะ นายบุญตา มูลศรีแก้ว  ได้จัดซื้อที่นาเหล่านี้ แล้วจัดแบ่งให้ทางราชการเพื่อสร้างเป็นที่ว่าการกิ่งอำเภอ สถานีตำรวจ สถานีอนามัย โรงเรียน วัด และบริเวณที่ตั้งตลาดสด เป็นต้น กิ่งอำเภอเมยวดี แยกจากอำเภอโพนทอง โดยตั้งเป็นกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2521   ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง “แบ่งท้องที่อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด” ตั้งเป็น กิ่งอำเภอเมยวดี ลงวันที่ 7 มีนาคม 2521 ลงนามโดย พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีเขตการปกครอง 2 ตำบล คือ ตำบลชุมพร  และตำบลเมยวดี  
“เมยวดี”เป็นชื่อนามของตำบลใหม่ ในการตั้งตำบลครั้งแรกบ้านหนองอีเมย สมัยรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลย์สงคราม มีการเปลี่ยนชื่อบ้านชื่อเมืองกัน ให้เปลี่ยนเป็นชื่อสุภาพ บ้านหนองอีเมย จึงเปลี่ยนชื่อเป็นบ้านหนองนางเมย บ้านคำอีตุ้มเป็นบ้านคำนางตุ้ม บ้านบุ่งอีเลิศ(เดิมเขียนเป็นเลิด เป็นพืชชนิดหนึ่งคือผักอีเลิด หรือใบชะพลู)เป็นบ้านบุ่งนางเลิศ แต่ยังเห็นว่าไม่สุภาพอีก จึงเปลี่ยนเป็นบ้านหนองเมย,บ้านบุ่งเลิศ ในสมัยก่อนคนโบราณมาตั้งบ้านตั้งเมืองจะมาอาศัยแม่น้ำ หรือหนองน้ำเป็นหลัก บ้านหนองนางเมยก็เช่นกัน การตั้งบ้านก็ติดกับหนองน้ำ คือหนองอีเมย(ปัจจุบันอยู่ทางไปบ้านโคกสี) สาเหตุที่เรียกชื่อหนองน้ำว่าหนองอีเมย คงเป็นเพราะอีเมย(กระทิง)มากินน้ำที่หนองน้ำนี้เป็นจำนวนมาก ในสมัยก่อนที่มาตั้งบ้านหนองอีเมยใหม่ๆ ดินแดนแถบนี้เป็นป่าดงทึบ เป็นบริเวณป่าดงมะอี่และภูพาน จึงมีสัตว์ป่านานาพันธุ์ เช่น ช้าง เสือ หมูป่า อีเมย กวาง ฟาน เป็นต้น ป่าดงทั้งหลายเพิ่งจะหมดเมื่อ 30 กว่าปี มานี้เอง
“เมยวดี”เป็นชื่อนามของตำบลใหม่ ในการตั้งตำบลครั้งแรกบ้านหนองอีเมย สมัยรัฐบาล[[จอมพล ป.พิบูลย์สงคราม]] มีการเปลี่ยนชื่อบ้านชื่อเมืองกัน ให้เปลี่ยนเป็นชื่อสุภาพ บ้านหนองอีเมย จึงเปลี่ยนชื่อเป็นบ้านหนองนางเมย บ้านคำอีตุ้มเป็นบ้านคำนางตุ้ม บ้านบุ่งอีเลิศ(เดิมเขียนเป็นเลิด เป็นพืชชนิดหนึ่งคือผักอีเลิด หรือใบชะพลู)เป็นบ้านบุ่งนางเลิศ แต่ยังเห็นว่าไม่สุภาพอีก จึงเปลี่ยนเป็นบ้านหนองเมย,บ้านบุ่งเลิศ ในสมัยก่อนคนโบราณมาตั้งบ้านตั้งเมืองจะมาอาศัยแม่น้ำ หรือหนองน้ำเป็นหลัก บ้านหนองนางเมยก็เช่นกัน การตั้งบ้านก็ติดกับหนองน้ำ คือหนองอีเมย(ปัจจุบันอยู่ทางไปบ้านโคกสี) สาเหตุที่เรียกชื่อหนองน้ำว่าหนองอีเมย คงเป็นเพราะอีเมย(กระทิง)มากินน้ำที่หนองน้ำนี้เป็นจำนวนมาก ในสมัยก่อนที่มาตั้งบ้านหนองอีเมยใหม่ๆ ดินแดนแถบนี้เป็นป่าดงทึบ เป็นบริเวณป่าดงมะอี่และภูพาน จึงมีสัตว์ป่านานาพันธุ์ เช่น ช้าง เสือ หมูป่า อีเมย กวาง ฟาน เป็นต้น ป่าดงทั้งหลายเพิ่งจะหมดเมื่อ 30 กว่าปี มานี้เอง
ในขณะที่ขอตั้งตำบลนี้ มีหลายคนเสนอตำบลใหม่ว่า ตำบลหนองเมย แต่นายบุญตา มูลศรีแก้วเสนอเป็นตำบลเมยวดี โดยท่านให้เหตุผลว่า เป็นการรักษานามเดิมเอาไว้คือ“อีเมย” ก็คือเมยวดีนั่นเอง ทุกคนเห็นด้วยและพอใจคำว่าเมยวดีมาก ท่านยังได้ขยายความให้ฟังว่าถ้าเป็น อีเมย หมายถึงกระทิงตัวเมียที่มีลูกแล้ว ถ้าเป็น“เมยวดี”  หมายถึง  “กระทิงตัวเมียที่ยังเป็นสาวบริสุทธ์”
ในขณะที่ขอตั้งตำบลนี้ มีหลายคนเสนอตำบลใหม่ว่า ตำบลหนองเมย แต่นายบุญตา มูลศรีแก้วเสนอเป็นตำบลเมยวดี โดยท่านให้เหตุผลว่า เป็นการรักษานามเดิมเอาไว้คือ“อีเมย” ก็คือเมยวดีนั่นเอง ทุกคนเห็นด้วยและพอใจคำว่าเมยวดีมาก ท่านยังได้ขยายความให้ฟังว่าถ้าเป็น อีเมย หมายถึงกระทิงตัวเมียที่มีลูกแล้ว ถ้าเป็น“เมยวดี”  หมายถึง  “กระทิงตัวเมียที่ยังเป็นสาวบริสุทธ์”
เมยวดีที่เป็นชื่อตำบลตั้งใหม่ขึ้นเป็นนามอำเภอเมยวดีในเวลาต่อมา นายบุญตา มูลศรีแก้วได้ยื่นร้องขอตั้งกิ่งอำเภอครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2506 แต่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกิ่งอำเภอ เมื่อปี พ.ศ.2521 เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว สถานที่ราชการยังไม่มี นายบุญพ่วง ถนัดค้า ได้ให้บ้านส่วนตัวเป็นสถานที่ทำงานของกิ่งอำเภอ และส่วนราชการต่างๆ   เปิดฉลองกิ่งอำเภอเมยวดีเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2521
เมยวดีที่เป็นชื่อตำบลตั้งใหม่ขึ้นเป็นนามอำเภอเมยวดีในเวลาต่อมา นายบุญตา มูลศรีแก้วได้ยื่นร้องขอตั้งกิ่งอำเภอครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2506 แต่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกิ่งอำเภอ เมื่อปี พ.ศ.2521 เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว สถานที่ราชการยังไม่มี นายบุญพ่วง ถนัดค้า ได้ให้บ้านส่วนตัวเป็นสถานที่ทำงานของกิ่งอำเภอ และส่วนราชการต่างๆ   เปิดฉลองกิ่งอำเภอเมยวดีเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2521
ในปี 2523 จึงได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารที่ว่าการกิ่งอำเภอ ได้อาคารเป็นแบบอำเภอข้าราชการได้ขึ้นทำงานที่อาคารหลังใหม่เมื่อปี 2524   ต่อมาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2536  ทางราชการได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะกิ่งอำเภอเป็นอำเภอเมยวดี แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 ตำบล คือ ตำบลชุมพร
ในปี 2523 จึงได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารที่ว่าการกิ่งอำเภอ ได้อาคารเป็นแบบอำเภอข้าราชการได้ขึ้นทำงานที่อาคารหลังใหม่เมื่อปี 2524   ต่อมาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2536  ทางราชการได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะกิ่งอำเภอเป็นอำเภอเมยวดี แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 ตำบล คือ [[จังหวัดร้อยเอ็ด|ตำบลชุมพร
ตำบลเมยวดี ตำบลบุ่งเลิศ และตำบลชมสะอาด<ref>http://www.amphoe.com/menu.php?am=507&pv=46&mid=1</ref>
ตำบลเมยวดี ตำบลบุ่งเลิศ และตำบลชมสะอาด]]<ref>http://www.amphoe.com/menu.php?am=507&pv=46&mid=1</ref>


==== การเดินทาง ====
==== การเดินทาง ====

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:17, 1 ธันวาคม 2559

ประวัติความเป็นมา

กิ่งอำเภอเมยวดี ตั้งอยู่บ้านใหม่สถานี หมู่ที่ 6 ตำบลเมยวดี เดิมเป็นทุ่งนาป่าละเมาะ นายบุญตา มูลศรีแก้ว  ได้จัดซื้อที่นาเหล่านี้ แล้วจัดแบ่งให้ทางราชการเพื่อสร้างเป็นที่ว่าการกิ่งอำเภอ สถานีตำรวจ สถานีอนามัย โรงเรียน วัด และบริเวณที่ตั้งตลาดสด เป็นต้น กิ่งอำเภอเมยวดี แยกจากอำเภอโพนทอง โดยตั้งเป็นกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2521   ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง “แบ่งท้องที่อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด” ตั้งเป็น กิ่งอำเภอเมยวดี ลงวันที่ 7 มีนาคม 2521 ลงนามโดย พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีเขตการปกครอง 2 ตำบล คือ ตำบลชุมพร  และตำบลเมยวดี   “เมยวดี”เป็นชื่อนามของตำบลใหม่ ในการตั้งตำบลครั้งแรกบ้านหนองอีเมย สมัยรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลย์สงคราม มีการเปลี่ยนชื่อบ้านชื่อเมืองกัน ให้เปลี่ยนเป็นชื่อสุภาพ บ้านหนองอีเมย จึงเปลี่ยนชื่อเป็นบ้านหนองนางเมย บ้านคำอีตุ้มเป็นบ้านคำนางตุ้ม บ้านบุ่งอีเลิศ(เดิมเขียนเป็นเลิด เป็นพืชชนิดหนึ่งคือผักอีเลิด หรือใบชะพลู)เป็นบ้านบุ่งนางเลิศ แต่ยังเห็นว่าไม่สุภาพอีก จึงเปลี่ยนเป็นบ้านหนองเมย,บ้านบุ่งเลิศ ในสมัยก่อนคนโบราณมาตั้งบ้านตั้งเมืองจะมาอาศัยแม่น้ำ หรือหนองน้ำเป็นหลัก บ้านหนองนางเมยก็เช่นกัน การตั้งบ้านก็ติดกับหนองน้ำ คือหนองอีเมย(ปัจจุบันอยู่ทางไปบ้านโคกสี) สาเหตุที่เรียกชื่อหนองน้ำว่าหนองอีเมย คงเป็นเพราะอีเมย(กระทิง)มากินน้ำที่หนองน้ำนี้เป็นจำนวนมาก ในสมัยก่อนที่มาตั้งบ้านหนองอีเมยใหม่ๆ ดินแดนแถบนี้เป็นป่าดงทึบ เป็นบริเวณป่าดงมะอี่และภูพาน จึงมีสัตว์ป่านานาพันธุ์ เช่น ช้าง เสือ หมูป่า อีเมย กวาง ฟาน เป็นต้น ป่าดงทั้งหลายเพิ่งจะหมดเมื่อ 30 กว่าปี มานี้เอง ในขณะที่ขอตั้งตำบลนี้ มีหลายคนเสนอตำบลใหม่ว่า ตำบลหนองเมย แต่นายบุญตา มูลศรีแก้วเสนอเป็นตำบลเมยวดี โดยท่านให้เหตุผลว่า เป็นการรักษานามเดิมเอาไว้คือ“อีเมย” ก็คือเมยวดีนั่นเอง ทุกคนเห็นด้วยและพอใจคำว่าเมยวดีมาก ท่านยังได้ขยายความให้ฟังว่าถ้าเป็น อีเมย หมายถึงกระทิงตัวเมียที่มีลูกแล้ว ถ้าเป็น“เมยวดี”  หมายถึง  “กระทิงตัวเมียที่ยังเป็นสาวบริสุทธ์” เมยวดีที่เป็นชื่อตำบลตั้งใหม่ขึ้นเป็นนามอำเภอเมยวดีในเวลาต่อมา นายบุญตา มูลศรีแก้วได้ยื่นร้องขอตั้งกิ่งอำเภอครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2506 แต่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกิ่งอำเภอ เมื่อปี พ.ศ.2521 เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว สถานที่ราชการยังไม่มี นายบุญพ่วง ถนัดค้า ได้ให้บ้านส่วนตัวเป็นสถานที่ทำงานของกิ่งอำเภอ และส่วนราชการต่างๆ   เปิดฉลองกิ่งอำเภอเมยวดีเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2521 ในปี 2523 จึงได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารที่ว่าการกิ่งอำเภอ ได้อาคารเป็นแบบอำเภอข้าราชการได้ขึ้นทำงานที่อาคารหลังใหม่เมื่อปี 2524   ต่อมาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2536  ทางราชการได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะกิ่งอำเภอเป็นอำเภอเมยวดี แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 ตำบล คือ ตำบลชุมพร ตำบลเมยวดี ตำบลบุ่งเลิศ และตำบลชมสะอาด[1]

การเดินทาง

การเดินทางจากจังหวัดร้อยเอ็ดสู่ อ.เมยวดีมีดังนี้ จาก จ.ร้อยเอ็ดสู่ อ.โพนทอง ด้วยเส้นทางลาดยางหมายเลข 23A ระยะทาง 47 กม. จาก อ.โพนทองสู่ อ.เมยวดี ด้วยถนนลาดยาง รพช. ระยะทาง 26 กม. และเข้าสู่พื้นที่ ตำบลด้วย[2]

อำเภอเมยวดี
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Moei Wadi
คำขวัญ: 
เมยวดีเมืองพ่อสีหราช สวยสะอาดด้วยน้ำใจ เลื่องลือไกลผ้าลายขิต ถิ่นผลิตอ้อยหวาน ทุกหมู่บ้านพัฒนา
แผนที่จังหวัดร้อยเอ็ด เน้นอำเภอเมยวดี
แผนที่จังหวัดร้อยเอ็ด เน้นอำเภอเมยวดี
พิกัด: 16°23′18″N 104°9′24″E / 16.38833°N 104.15667°E / 16.38833; 104.15667
ประเทศ ไทย
จังหวัดร้อยเอ็ด
พื้นที่
 • ทั้งหมด180.59 ตร.กม. (69.73 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2557)
 • ทั้งหมด22,890 คน
 • ความหนาแน่น126.75 คน/ตร.กม. (328.3 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 45250
รหัสภูมิศาสตร์4515
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอเมยวดี หมู่ที่ 6 ตำบลเมยวดี อำเภอเมยวดี จังหวัดร้อยเอ็ด 45250
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

ที่ตั้งและอาณาเขต

อำเภอเมยวดีตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้

การแบ่งเขตการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอเมยวดีแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 4 ตำบล 43 หมู่บ้าน ได้แก่

1. เมยวดี (Moei Wadi) 11 หมู่บ้าน
2. ชุมพร (Chumphon) 14 หมู่บ้าน
3. บุ่งเลิศ (Bung Loet) 9 หมู่บ้าน
4. ชมสะอาด (Chom Sa-at) 9 หมู่บ้าน
 

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอเมยวดีประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลตำบลชุมพร ครอบคลุมพื้นที่ตำบลชุมพรทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลเมยวดี ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเมยวดีทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลบุ่งเลิศ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบุ่งเลิศทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลชมสะอาด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลชมสะอาดทั้งตำบล


  1. http://www.amphoe.com/menu.php?am=507&pv=46&mid=1
  2. http://www.amphoe.com/menu.php?am=507&pv=46&mid=1