ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรมอญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Aquapatinth (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{อักษรพม่า}}
'''อักษรมอญ''' พัฒนามาจาก[[อักษรพราหมี]] ผ่านทาง[[อักษรปัลลวะ]] และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น [[อักษรพม่า]] [[อักษรไทย]] [[อักษรลาว]] [[อักษรล้านนา]] [[อักษรไทลื้อ]] อักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ใน[[ล้านนา]]และ[[ล้านช้าง]]
'''อักษรมอญ''' พัฒนามาจาก[[อักษรพราหมี]] ผ่านทาง[[อักษรปัลลวะ]] และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น [[อักษรพม่า]] [[อักษรไทย]] [[อักษรลาว]] [[อักษรล้านนา]] [[อักษรไทลื้อ]] อักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ใน[[ล้านนา]]และ[[ล้านช้าง]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:35, 8 สิงหาคม 2550

อักษรมอญและพม่า
พยัญชนะมอญและพม่า
က (k) (hk) (g) (gh) (ng)
(c) (hc) (j) (jh) (ny)
(t) (ht) (d) (dh) (n)
(t) (ht) (d) (dh) (n)
(y) (r) (l) (w) (s)
(h) (l) (b)* (a) (b)*
สระลอยพม่า
အ (a) ဣ (i) ဤ (ii) ဥ (u) ဦ (uu)
ဧ (e) ဩ (o) ဪ (au)
สระลอยมอญ
အ (a) အာ (aa) ဣ (i) (ii)*
ဥ (u) ဥႂ (uu) ၉ (e) အဲ (ua) ဩ (au)
(aau)* အံ (aom) အး (a:)
สระประสม
ဢာ (aa) ဢိ (i) ဢီ (ii) ဢု (u) ဢူ (uu)
ေဢ (e) ဢဲ (ua) ေဢာ (au)
เครื่องหมาย และอักขระพิเศษ
ဢံ (อนุนาสิก) ဢ့ (อนุสวาร)
ဢး (Visarga) ဢ္ (Virama)
၊ (Little Section) ။ (Section)
၌ (Locative) ၍ (Completed)
၏ (Genitive) ၎ (Aforementioned)
ၐ (sha) ၑ (ssa) ၒ (r) ၓ (rr) ၔ (l)
ၕ (ll) ၖ (r) ၗ (rr) ဢၘ (l) ဢၙ (ll)
ตัวเลข
၀၁၂၃၄၅၆၇၈၉ ดูที่เลขมอญ และเลขพม่า
* มีใช้เฉพาะในภาษามอญ ไม่มีในชุดอักษรพม่า
????? หน้านี้มีตัวอักษรพม่าที่อาจจะไม่แสดงผล ควรติดตั้งฟอนต์ยูนิโคด 5.1 สำหรับอักษรพม่า

อักษรมอญ พัฒนามาจากอักษรพราหมี ผ่านทางอักษรปัลลวะ และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น อักษรพม่า อักษรไทย อักษรลาว อักษรล้านนา อักษรไทลื้อ อักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ในล้านนาและล้านช้าง

อักษรมอญโบราณพัฒนามาจากอักษรยุคหลังปัลลวะ (พุทธศตวรรษ 13-15) พบจารึกอักษรนี้ในเขตหริภุญชัย เช่นที่ เวียงมโน เวียงเถาะ รูปแบบของอักษรมอญต่างจากอักษรขอมที่พัฒนาจากอักษรในอินเดียใต้รุ่นเดียวกันคือ อักษรมอญตัดบ่าอักษรออกไป ทำให้รูปอักษรค่อนข้างกลม ส่วนอักษรขอมเปลี่ยนบ่าอักษรเป็นศกหรือหนามเตย

ลักษณะ

พยัญชนะแบ่งเป็น 2 ชุดคือ พยัญชนะเสียงไม่ก้อง (อโฆษะ เสียงขุ่น) พื้นเสียงเป็นอะ พยัญชนะเสียงก้อง (โฆษะ เสียงใส) พื้นเสียงเป็นเอียะ เมื่อประสมสระ พยัญชนะต่างชุดกันออกเสียงต่างกัน มีรูปพยัญชนะซ้อน เมื่อเป็นตัวควบกล้ำ

ใช้เขียน

อ้างอิง

  • พจนานุกรมมอญ-ไทย ฉบับมอญสยาม. ศิลปวัฒนธรรม. 2548
  • สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทย มาจากไหน. มติชน. 2548