ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระไชยเชษฐาธิราชที่ 2"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2''' เดิมมีพระนามว่าเจ้าไชยองค์เว้ เป็นพระราชโอรสของเจ้าชมพู ที่ถูกเนรเทศไปอยู่เมือง[[เว้]] พระองค์ได้ครองราชสมบัติเมื่อ พ.ศ. 2245 ทรงตั้งให้[[เจ้าองค์ลอง]]หรือเจ้านอง พระอนุชาต่างบิดาเป็นอุปราชและไปครองเมือง[[หลวงพระบาง]] และอัญเชิญ[[พระบาง]]มาประดิษฐานที่เวียงจันทร์
'''พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2''' เดิมมีพระนามว่าเจ้าไชยองค์เว้ เป็นพระราชโอรสของเจ้าชมพู ที่ถูกเนรเทศไปอยู่เมือง[[เว้]] พระองค์ได้ครองราชสมบัติเมื่อ พ.ศ. 2245 ทรงตั้งให้[[เจ้าองค์ลอง]]หรือเจ้านอง พระอนุชาต่างบิดาเป็นอุปราชและไปครองเมือง[[หลวงพระบาง]] และอัญเชิญ[[พระบาง]]มาประดิษฐานที่เวียงจันทน์


ต่อมาใน พ.ศ. 2249 [[เจ้ากิ่งกิศราช]]ซึ่งเป็นพระโอรสของเจ้าราชบุตรและเป็นหลานปู่ของ[[พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช]] ที่ลี้ภัยไปอยู่[[สิบสองปันนา]]กับเครือญาติฝ่ายพระมารดา ได้ยกทัพลงมาตีเมืองหลวงพระบาง เจ้าลองสู้ไม่ได้ แตกพ่ายลงมาเวียงจันทน์ เจ้ากิ่งกิศราชยกทัพตามลงมาที่เวียงจันทร์ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชจึงขอกองทัพจากกรุงศรีอยุธยามาช่วย
ต่อมาใน พ.ศ. 2249 [[เจ้ากิ่งกิศราช]]ซึ่งเป็นพระโอรสของเจ้าราชบุตรและเป็นหลานปู่ของ[[พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช]] ที่ลี้ภัยไปอยู่[[สิบสองปันนา]]กับเครือญาติฝ่ายพระมารดา ได้ยกทัพลงมาตีเมืองหลวงพระบาง เจ้าลองสู้ไม่ได้ แตกพ่ายลงมาเวียงจันทน์ เจ้ากิ่งกิศราชยกทัพตามลงมาที่เวียงจันทน์ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชจึงขอกองทัพจากกรุงศรีอยุธยามาช่วย


[[สมเด็จพระเพทราชา]] กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น ได้ยกทัพขึ้นมาและไกลเกลี่ยให้ทั้งสองฝ่ายประนีประนอมกัน โดยให้แบ่งเขตแดนระหว่างหลวงพระบางกับเวียงจันทน์ ให้เจ้ากิ่งกิศราชครองหลวงพระบาง ให้พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชครองเวียงจันทน์ ทั้งสองกษัตริย์ตกลงแบ่งเขตแดนกันโดยใช้[[แม่น้ำเหือง]]เป็นแดนทางฝั่งขวา ทางฝั่งซ้ายใช้เทือกเขาภูชนะคามเป็นเขตแดน แคว้น[[สิบสองจุไท]]กับ[[หัวพันห้าทั้งหก]]ขึ้นกับหลวงพระบาง แคว้น[[เชียงขวาง]]และแคว้นที่อยู่ใต้ลงมาให้ขึ้นกับเวียงจันทน์ การแบ่งเขตแดนนี้เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2250
[[สมเด็จพระเพทราชา]] กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น ได้ยกทัพขึ้นมาและไกลเกลี่ยให้ทั้งสองฝ่ายประนีประนอมกัน โดยให้แบ่งเขตแดนระหว่างหลวงพระบางกับเวียงจันทน์ ให้เจ้ากิ่งกิศราชครองหลวงพระบาง ให้พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชครองเวียงจันทน์ ทั้งสองกษัตริย์ตกลงแบ่งเขตแดนกันโดยใช้[[แม่น้ำเหือง]]เป็นแดนทางฝั่งขวา ทางฝั่งซ้ายใช้เทือกเขาภูชนะคามเป็นเขตแดน แคว้น[[สิบสองจุไท]]กับ[[หัวพันห้าทั้งหก]]ขึ้นกับหลวงพระบาง แคว้น[[เชียงขวาง]]และแคว้นที่อยู่ใต้ลงมาให้ขึ้นกับเวียงจันทน์ การแบ่งเขตแดนนี้เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2250

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:27, 8 พฤศจิกายน 2559

พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 เดิมมีพระนามว่าเจ้าไชยองค์เว้ เป็นพระราชโอรสของเจ้าชมพู ที่ถูกเนรเทศไปอยู่เมืองเว้ พระองค์ได้ครองราชสมบัติเมื่อ พ.ศ. 2245 ทรงตั้งให้เจ้าองค์ลองหรือเจ้านอง พระอนุชาต่างบิดาเป็นอุปราชและไปครองเมืองหลวงพระบาง และอัญเชิญพระบางมาประดิษฐานที่เวียงจันทน์

ต่อมาใน พ.ศ. 2249 เจ้ากิ่งกิศราชซึ่งเป็นพระโอรสของเจ้าราชบุตรและเป็นหลานปู่ของพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ที่ลี้ภัยไปอยู่สิบสองปันนากับเครือญาติฝ่ายพระมารดา ได้ยกทัพลงมาตีเมืองหลวงพระบาง เจ้าลองสู้ไม่ได้ แตกพ่ายลงมาเวียงจันทน์ เจ้ากิ่งกิศราชยกทัพตามลงมาที่เวียงจันทน์ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชจึงขอกองทัพจากกรุงศรีอยุธยามาช่วย

สมเด็จพระเพทราชา กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น ได้ยกทัพขึ้นมาและไกลเกลี่ยให้ทั้งสองฝ่ายประนีประนอมกัน โดยให้แบ่งเขตแดนระหว่างหลวงพระบางกับเวียงจันทน์ ให้เจ้ากิ่งกิศราชครองหลวงพระบาง ให้พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชครองเวียงจันทน์ ทั้งสองกษัตริย์ตกลงแบ่งเขตแดนกันโดยใช้แม่น้ำเหืองเป็นแดนทางฝั่งขวา ทางฝั่งซ้ายใช้เทือกเขาภูชนะคามเป็นเขตแดน แคว้นสิบสองจุไทกับหัวพันห้าทั้งหกขึ้นกับหลวงพระบาง แคว้นเชียงขวางและแคว้นที่อยู่ใต้ลงมาให้ขึ้นกับเวียงจันทน์ การแบ่งเขตแดนนี้เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2250

หลังจากสิ้นสุดสงครามกับพระเจ้ากิ่งกิศราช พระองค์ได้เร่งปรับปรุงการปกครองหัวเมือง ส่งคนที่ไว้ใจได้ไปปกครองเมืองที่สำคัญ ทำให้กลุ่มของพระครูยอดแก้วโพนสะเม็ก ต้องอพยพลงใต้ไปหาที่มั่นใหม่ ในที่สุดได้ไปตั้งมั่นที่เมืองจำปาศักดิ์ และแยกตัวเป็นอิสระจากเวียงจันทน์ใน พ.ศ. 2256 พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชครองราชย์จนถึง พ.ศ. 2273 จึงสิ้นพระชนม์ จากนั้น เจ้าลองพระอนุชาได้ขึ้นครองราชย์สืบแทน

อ้างอิง

  • มหาบุนมี เทบสีเมือง. ความเป็นมาของชนชาติลาว เล่ม 2 อาณาจักรลาวล้านช้างตอนต้น. แปลโดย ไผท ภูธา. กทม. สุขภาพใจ. 2554. หน้า 354 - 356
  • มหาบุนมี เทบสีเมือง. ความเป็นมาของชนชาติลาว เล่ม 3 อาณาจักรลาวล้านช้างตอนปลายและการก่อตั้งสปป.ลาว. แปลโดย ไผท ภูธา. กทม. สุขภาพใจ. 2556. หน้า50 -57