ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์โฮเอินท์ซ็อลเลิร์น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "โฮเฮนโซลเลิร์น" → "โฮเอ็นโซลเลิร์น" ด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=295px}}
{{ใช้ปีคศ|width=295px}}
{{ราชวงศ์|
{{ราชวงศ์|
| surname = ราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์น
| surname = ราชวงศ์โฮเอ็นโซลเลิร์น
|estate = เยอรมนี, ปรัสเซีย, โรมาเนีย
|estate = เยอรมนี, ปรัสเซีย, โรมาเนีย
|coat of arms = [[ไฟล์:Wappen Hohenzollern.svg|120px|Imperial coat of arms of Germany]]
|coat of arms = [[ไฟล์:Wappen Hohenzollern.svg|120px|Imperial coat of arms of Germany]]
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
[[สมเด็จพระเจ้ามิคาเอลที่ 1 แห่งโรมาเนีย|พระเจ้ามิคาเอลที่ 1]] (ค.ศ. 1927–ค.ศ. 1930, ค.ศ. 1940–ค.ศ. 1947)
[[สมเด็จพระเจ้ามิคาเอลที่ 1 แห่งโรมาเนีย|พระเจ้ามิคาเอลที่ 1]] (ค.ศ. 1927–ค.ศ. 1930, ค.ศ. 1940–ค.ศ. 1947)
|current head =<small>เยอรมนีและปรัสเซีย:</small><br />[[จอร์จ ฟรีดริช เจ้าชายแห่งปรัสเซีย]] (ค.ศ. 1994–)<br />
|current head =<small>เยอรมนีและปรัสเซีย:</small><br />[[จอร์จ ฟรีดริช เจ้าชายแห่งปรัสเซีย]] (ค.ศ. 1994–)<br />
<small>โฮเฮนโซลเลิร์น-ซิกมาริงเก็น:</small><br />[[ฟรีดริช วิลเฮล์ม เจ้าชายแห่งโฮเฮนโซลเลิร์น]] (ค.ศ. 1965–)<br /></small><br />
<small>โฮเอ็นโซลเลิร์น-ซิกมาริงเก็น:</small><br />[[ฟรีดริช วิลเฮล์ม เจ้าชายแห่งโฮเอ็นโซลเลิร์น]] (ค.ศ. 1965–)<br /></small><br />
<small>โฮเฮนโซลเลิร์น-เฮ็คคิงเก็น:</small><br />สิ้นสุดตั้งแต่ 1869<br /></small><br />
<small>โฮเอ็นโซลเลิร์น-เฮ็คคิงเก็น:</small><br />สิ้นสุดตั้งแต่ 1869<br /></small><br />
<small>โรมาเนีย:</small><br />[[สมเด็จพระเจ้ามิคาเอลที่ 1 แห่งโรมาเนีย|พระเจ้ามิคาเอลที่ 1]] (ค.ศ. 1947–)</small>
<small>โรมาเนีย:</small><br />[[สมเด็จพระเจ้ามิคาเอลที่ 1 แห่งโรมาเนีย|พระเจ้ามิคาเอลที่ 1]] (ค.ศ. 1947–)</small>
|founding year = ราว ค.ศ. 1100
|founding year = ราว ค.ศ. 1100
|deposition=<small>เยอรมนีและปรัสเซีย:</small><br />ค.ศ. 1918: [[การปฏิวัติเยอรมัน]]<br /><small>โรมาเนีย:</small><br />ค.ศ. 1947: [[สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย|การผนวกดินแดนของสตาลิน]]
|deposition=<small>เยอรมนีและปรัสเซีย:</small><br />ค.ศ. 1918: [[การปฏิวัติเยอรมัน]]<br /><small>โรมาเนีย:</small><br />ค.ศ. 1947: [[สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย|การผนวกดินแดนของสตาลิน]]
|nationality = [[ชาวเยอรมัน|เยอรมัน]], [[ชาวโรมาเนีย|โรมาเนีย]]
|nationality = [[ชาวเยอรมัน|เยอรมัน]], [[ชาวโรมาเนีย|โรมาเนีย]]
|cadet branches = [[โฮเฮนโซลเลิร์น-เฮ็คคิงเก็น]] <br /> [[โฮเฮนโซลเลิร์น-ซิกมาริงเก็น]] <br /> [[โฮเฮนโซลเลิร์น-ไฮเกอร์ล็อค]]
|cadet branches = [[โฮเอ็นโซลเลิร์น-เฮ็คคิงเก็น]] <br /> [[โฮเอ็นโซลเลิร์น-ซิกมาริงเก็น]] <br /> [[โฮเอ็นโซลเลิร์น-ไฮเกอร์ล็อค]]
}}
}}
'''ราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์น''' ({{lang-en|House of Hohenzollern}}) เป็นราชตระกูล[[ชาวเยอรมัน|เยอรมัน]]และ[[ชาวโรมาเนีย|โรมาเนีย]]ของ[[ยุโรป]]ที่ปกครอง[[ปรัสเซีย]], [[เยอรมนี]] และ [[โรมาเนีย]] บริเวณดั้งเดิมของราชวงศ์อยู่ในบริเวณเมือง[[เฮ็คคิงเก็น]] (Hechingen) ใน[[ชวาเบีย]]ที่ก่อตั้งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชื่อราชวงศ์มาจากที่พำนักของตระกูลที่เรียกว่า[[ปราสาทโฮเฮนโซลเลิร์น]] (Burg Hohenzollern)
'''ราชวงศ์โฮเอ็นโซลเลิร์น''' ({{lang-en|House of Hohenzollern}}) เป็นราชตระกูล[[ชาวเยอรมัน|เยอรมัน]]และ[[ชาวโรมาเนีย|โรมาเนีย]]ของ[[ยุโรป]]ที่ปกครอง[[ปรัสเซีย]], [[เยอรมนี]] และ [[โรมาเนีย]] บริเวณดั้งเดิมของราชวงศ์อยู่ในบริเวณเมือง[[เฮ็คคิงเก็น]] (Hechingen) ใน[[ชวาเบีย]]ที่ก่อตั้งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชื่อราชวงศ์มาจากที่พำนักของตระกูลที่เรียกว่า[[ปราสาทโฮเอ็นโซลเลิร์น]] (Burg Hohenzollern)


คำขวัญของตระกูลคือ “Nihil Sine Deo” (ไม่มีสิ่งใดถ้าไม่มีพระเจ้า) [[ตราประจำตระกูล]]เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1192 ที่เป็นตราง่ายๆ แบ่งเป็นสี่ส่วน สีดำ และ เงิน ต่อมาก็มีการเพิ่มหัวและไหล่ของสุนัขในปี ค.ศ. 1317 by [[ฟรีดริชที่ 4 เบอร์กราฟแห่งเนิร์นแบร์ก]].<ref>[http://www.steincollectors.org/steinmo/2002/Hohenzollern.html A Royal Student Stein]</ref> และต่อมาก็เพิ่มสัญลักษณ์จากสาขาของอีกตระกูลหนึ่ง
คำขวัญของตระกูลคือ “Nihil Sine Deo” (ไม่มีสิ่งใดถ้าไม่มีพระเจ้า) [[ตราประจำตระกูล]]เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1192 ที่เป็นตราง่ายๆ แบ่งเป็นสี่ส่วน สีดำ และ เงิน ต่อมาก็มีการเพิ่มหัวและไหล่ของสุนัขในปี ค.ศ. 1317 by [[ฟรีดริชที่ 4 เบอร์กราฟแห่งเนิร์นแบร์ก]].<ref>[http://www.steincollectors.org/steinmo/2002/Hohenzollern.html A Royal Student Stein]</ref> และต่อมาก็เพิ่มสัญลักษณ์จากสาขาของอีกตระกูลหนึ่ง
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
ตระกูลแบ่งออกเป็นสองสาย สาย[[โรมันคาทอลิก]][[ชวาเบีย]] และ สาย[[โปรเตสแตนต์]][[ฟรังโคเนีย]] สายชวาเบียปกครองบริเวณ[[เฮ็คคิงเก็น]]จนกระทั่งมาสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1869 สายย่อยของฟรังโคเนียขึ้นครอง[[อาณาจักรมาร์กราฟแห่งบรานเดนบวร์ก]]ในปี ค.ศ. 1415 และ [[อาณาจักรดยุคแห่งปรัสเซีย]]ในปี ค.ศ. 1525 การรวมสายย่อยสองสายของฟรังโคเนียในปี ค.ศ. 1618 เป็นการก่อตั้ง[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]]ต่อมาในปี ค.ศ. 1701 ซึ่งเป็นรัฐที่เป็นผู้นำใน[[การรวมประเทศเยอรมนี]] (Unification of Germany) และการก่อตั้ง[[จักรวรรดิเยอรมนี]]ต่อมาในปี ค.ศ. 1871
ตระกูลแบ่งออกเป็นสองสาย สาย[[โรมันคาทอลิก]][[ชวาเบีย]] และ สาย[[โปรเตสแตนต์]][[ฟรังโคเนีย]] สายชวาเบียปกครองบริเวณ[[เฮ็คคิงเก็น]]จนกระทั่งมาสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1869 สายย่อยของฟรังโคเนียขึ้นครอง[[อาณาจักรมาร์กราฟแห่งบรานเดนบวร์ก]]ในปี ค.ศ. 1415 และ [[อาณาจักรดยุคแห่งปรัสเซีย]]ในปี ค.ศ. 1525 การรวมสายย่อยสองสายของฟรังโคเนียในปี ค.ศ. 1618 เป็นการก่อตั้ง[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]]ต่อมาในปี ค.ศ. 1701 ซึ่งเป็นรัฐที่เป็นผู้นำใน[[การรวมประเทศเยอรมนี]] (Unification of Germany) และการก่อตั้ง[[จักรวรรดิเยอรมนี]]ต่อมาในปี ค.ศ. 1871


ความระส่ำระสายของสังคมในปลาย[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] ทำให้เกิด[[การปฏิวัติเยอรมัน]]ในปี ค.ศ. 1918 และการก่อตั้ง[[สาธารณรัฐไวมาร์]]ต่อมาซึ่งเป็นการบีบบังคับให้ราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์นต้องสละราชบัลลังก์ ซึ่งเท่ากับเป็นการยุติ[[ระบบราชาธิปไตยเยอรมัน]] (German monarchy) ในที่สุด[[สนธิสัญญาแวร์ซายส์ (1919)|สนธิสัญญาแวร์ซายส์]]ของปี ค.ศ. 1919 ก็ยุบเลิก[[จักรวรรดิเยอรมนี]]
ความระส่ำระสายของสังคมในปลาย[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] ทำให้เกิด[[การปฏิวัติเยอรมัน]]ในปี ค.ศ. 1918 และการก่อตั้ง[[สาธารณรัฐไวมาร์]]ต่อมาซึ่งเป็นการบีบบังคับให้ราชวงศ์โฮเอ็นโซลเลิร์นต้องสละราชบัลลังก์ ซึ่งเท่ากับเป็นการยุติ[[ระบบราชาธิปไตยเยอรมัน]] (German monarchy) ในที่สุด[[สนธิสัญญาแวร์ซายส์ (1919)|สนธิสัญญาแวร์ซายส์]]ของปี ค.ศ. 1919 ก็ยุบเลิก[[จักรวรรดิเยอรมนี]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 34: บรรทัด 34:
* [[ประวัติศาสตร์เยอรมนี]]
* [[ประวัติศาสตร์เยอรมนี]]


{{เรียงลำดับ|ราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์น}}
{{เรียงลำดับ|ราชวงศ์โฮเอ็นโซลเลิร์น}}
{{ราชวงศ์ยุโรป}}
{{ราชวงศ์ยุโรป}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:52, 22 ตุลาคม 2559

ราชวงศ์โฮเอินท์ซ็อลเลิร์น
Imperial coat of arms of Germany
พระราชอิสริยยศเคานท์แห่งโซลเลิร์น
มาร์กราฟแห่งบรานเดนบวร์ก
ดยุคแห่งปรัสเซีย
เบอร์กราฟแห่งเนิร์นแบร์ก
มาร์กราฟแห่งไบรอยท์
มาร์กราฟแห่งบรานเดนบวร์ก-อันสบาค
พระมหากษัตริย์แห่งปรัสเซีย
จักรพรรดิเยอรมัน
ปกครองเยอรมนี, โรมาเนีย
เชื้อชาติเยอรมัน, โรมาเนีย
สาขาโฮเอ็นโซลเลิร์น-เฮ็คคิงเก็น
โฮเอ็นโซลเลิร์น-ซิกมาริงเก็น
โฮเอ็นโซลเลิร์น-ไฮเกอร์ล็อค
ประมุขพระองค์แรกฟรีดริชที่ 1 เบอร์กราฟแห่งเนิร์นแบร์ก
ผู้นำสกุลองค์ปัจจุบันเยอรมนีและปรัสเซีย:
จอร์จ ฟรีดริช เจ้าชายแห่งปรัสเซีย (ค.ศ. 1994–)

โฮเอ็นโซลเลิร์น-ซิกมาริงเก็น:
ฟรีดริช วิลเฮล์ม เจ้าชายแห่งโฮเอ็นโซลเลิร์น (ค.ศ. 1965–)

โฮเอ็นโซลเลิร์น-เฮ็คคิงเก็น:
สิ้นสุดตั้งแต่ 1869

โรมาเนีย:
พระเจ้ามิคาเอลที่ 1 (ค.ศ. 1947–)
ประมุขพระองค์สุดท้ายเยอรมนีและปรัสเซีย:
พระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 (ค.ศ. 1888–ค.ศ. 1918)
โรมาเนีย: พระเจ้ามิคาเอลที่ 1 (ค.ศ. 1927–ค.ศ. 1930, ค.ศ. 1940–ค.ศ. 1947)
สถาปนาราว ค.ศ. 1100
ล่มสลายเยอรมนีและปรัสเซีย:
ค.ศ. 1918: การปฏิวัติเยอรมัน
โรมาเนีย:
ค.ศ. 1947: การผนวกดินแดนของสตาลิน

ราชวงศ์โฮเอ็นโซลเลิร์น (อังกฤษ: House of Hohenzollern) เป็นราชตระกูลเยอรมันและโรมาเนียของยุโรปที่ปกครองปรัสเซีย, เยอรมนี และ โรมาเนีย บริเวณดั้งเดิมของราชวงศ์อยู่ในบริเวณเมืองเฮ็คคิงเก็น (Hechingen) ในชวาเบียที่ก่อตั้งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชื่อราชวงศ์มาจากที่พำนักของตระกูลที่เรียกว่าปราสาทโฮเอ็นโซลเลิร์น (Burg Hohenzollern)

คำขวัญของตระกูลคือ “Nihil Sine Deo” (ไม่มีสิ่งใดถ้าไม่มีพระเจ้า) ตราประจำตระกูลเริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1192 ที่เป็นตราง่ายๆ แบ่งเป็นสี่ส่วน สีดำ และ เงิน ต่อมาก็มีการเพิ่มหัวและไหล่ของสุนัขในปี ค.ศ. 1317 by ฟรีดริชที่ 4 เบอร์กราฟแห่งเนิร์นแบร์ก.[1] และต่อมาก็เพิ่มสัญลักษณ์จากสาขาของอีกตระกูลหนึ่ง

ตระกูลแบ่งออกเป็นสองสาย สายโรมันคาทอลิกชวาเบีย และ สายโปรเตสแตนต์ฟรังโคเนีย สายชวาเบียปกครองบริเวณเฮ็คคิงเก็นจนกระทั่งมาสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1869 สายย่อยของฟรังโคเนียขึ้นครองอาณาจักรมาร์กราฟแห่งบรานเดนบวร์กในปี ค.ศ. 1415 และ อาณาจักรดยุคแห่งปรัสเซียในปี ค.ศ. 1525 การรวมสายย่อยสองสายของฟรังโคเนียในปี ค.ศ. 1618 เป็นการก่อตั้งราชอาณาจักรปรัสเซียต่อมาในปี ค.ศ. 1701 ซึ่งเป็นรัฐที่เป็นผู้นำในการรวมประเทศเยอรมนี (Unification of Germany) และการก่อตั้งจักรวรรดิเยอรมนีต่อมาในปี ค.ศ. 1871

ความระส่ำระสายของสังคมในปลายสงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้เกิดการปฏิวัติเยอรมันในปี ค.ศ. 1918 และการก่อตั้งสาธารณรัฐไวมาร์ต่อมาซึ่งเป็นการบีบบังคับให้ราชวงศ์โฮเอ็นโซลเลิร์นต้องสละราชบัลลังก์ ซึ่งเท่ากับเป็นการยุติระบบราชาธิปไตยเยอรมัน (German monarchy) ในที่สุดสนธิสัญญาแวร์ซายส์ของปี ค.ศ. 1919 ก็ยุบเลิกจักรวรรดิเยอรมนี

อ้างอิง

ดูเพิ่ม