ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 6673181 สร้างโดย 171.5.245.47 (พูดคุย)
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช''' (พระราชสมภพ [[5 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2470]] — สวรรคต [[13 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2559]]) เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่เก้าแห่ง[[ราชวงศ์จักรี]] เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน 2489 เป็นพระมหากษัตริย์ผู้เสวยราชย์ยาวนานที่สุดใน[[ประเทศไทย]]<sup>[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-longestthai-2|[2]]]</sup>
'''พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว''' อาจหมายถึง


พระองค์เป็น[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ|พระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ]] และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น ในคราวปี 2524 และปี 2528 กระนั้น ก็ได้ทรงแต่งตั้งหัวหน้าคณะยึดอำนาจหลายคณะ เช่น จอมพล [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ในช่วงพุทธทศวรรษที่ 2500 กับพลเอก [[สนธิ บุญยรัตกลิน]] ในช่วงปลายพุทธทศวรรษที่ 2540 ตลอดรัชกาลของพระองค์ เกิดรัฐประหารโดยกองทัพสิบกว่าครั้ง รัฐธรรมนูญเกือบ 20 ฉบับ และนายกรัฐมนตรีเกือบ 30 คน
* [[พระมหากษัตริย์]]พระองค์ใด ๆ, ดู [[รายพระนามพระมหากษัตริย์]]
* [[พระมหากษัตริย์ไทย]]พระองค์ใด ๆ, ดู [[รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย]]
* พระมหากษัตริย์ไทยพระองค์ปัจจุบัน คือ [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]


ประชาชนชาวไทยจำนวนมากเคารพพระองค์<sup>[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-3|[3]]][[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-4|[4]]][[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-revered-5|[5]]]</sup> อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะและผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็น[[ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย|ความผิดอาญา]]<sup>[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-revered-5|[5]]]</sup> คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ<sup>[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-6|[6]]][[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-Thak1979-7|[7]]]</sup> กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อปี 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้<sup>[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-wrong-8|[8]]]</sup>
{{แก้กำกวม}}
[[ไฟล์:กระบวนเรือ ในหลวง 2539.jpg|alt=พระบรมนามาภิไธย พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช พระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร[1] พระราชอิสริยยศ พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรไทย ราชวงศ์ ราชวงศ์จักรี ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 บรมราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 รัชกาล 70 ปี 127 วัน รัชกาลก่อน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระพุทธรูปประจำพระชนมวาร พระพุทธรูปปางอภัยมุทรา พุทธลักษณะสุโขทัย ข้อมูลส่วนพระองค์ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 ปี) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย พระบรมราชชนก สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบรมราชชนนี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบรมราชินี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระราชบุตร - ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี - สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร - สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี - สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ลายพระอภิไธย |thumb]]
พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญา[[เศรษฐกิจพอเพียง]] [[โคฟี แอนนัน]] [[เลขาธิการสหประชาชาติ]] ได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์<sup>[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-9|[9]]]</sup> กับทั้งพระองค์ยังทรงเป็นเจ้าของ[[สิทธิบัตร]]สิ่งประดิษฐ์ งานพระราชนิพนธ์ และงานดนตรีจำนวนหนึ่งด้วย<sup>[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-10|[10]]]</sup> ด้านสินทรัพย์ของพระองค์[[ฟอบส์|นิตยสารฟอบส์]]จัดอันดับให้พระองค์เป็น[[รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก|พระมหากษัตริย์ผู้มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก]] ตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2556<sup>[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-11|[11]]]</sup> เมื่อเดือนพฤษภาคม 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ (ดู[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A3.E0.B8.B2.E0.B8.8A.E0.B8.97.E0.B8.A3.E0.B8.B1.E0.B8.9E.E0.B8.A2.E0.B9.8C|หมายเหตุด้านล่าง]])<sup>[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-Chris-12|[12]]]</sup> สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์นั้นใช้สินทรัพย์เพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระมหากษัตริย์แต่พระองค์เดียว<sup>[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-13|[13]]]</sup> ขณะที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชก็ได้ทรงอุทิศพระราชทรัพย์ไปในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายต่อหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ<sup>[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-14|[14]]]</sup>

== พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ==
{| class="wikitable"
|'''พระบรมนามาภิไธย'''
|พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช
|-
|'''พระปรมาภิไธย (ชื่อเต็ม)'''
|พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร<sup>[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช#cite note-1|[1]]]</sup>
|-
|'''พระราชอิสริยยศ'''
|[[พระมหากษัตริย์ไทย|พระมหากษัตริย์]]แห่ง[[ประเทศไทย|ราชอาณาจักรไทย]]
|-
|'''[[ราชวงศ์]]'''
|[[ราชวงศ์จักรี]]
|-
|'''ครองราชย์'''
|[[9 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2489]]
|-
|'''บรมราชาภิเษก'''
|[[5 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2493]]
|-
|'''รัชกาล'''
|70 ปี 127 วัน
|-
|'''รัชกาลก่อน'''
|[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร]]
|-
|'''พระพุทธรูปประจำพระชนมวาร'''
|พระพุทธรูปปางอภัยมุทรา พุทธลักษณะสุโขทัย
|-
| colspan="2" | '''<u>ข้อมูลส่วนพระองค์</u>'''
|-
|'''พระราชสมภพ'''
|5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
[[เคมบริดจ์]] [[รัฐแมสซาชูเซตส์]] [[สหรัฐอเมริกา]]
|-
|'''สวรรคต'''
|13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 ปี)
[[โรงพยาบาลศิริราช]][[กรุงเทพมหานคร]] [[ประเทศไทย]]
|-
|'''พระบรมราชชนก'''
|[[สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก]]
|-
|'''พระบรมราชชนนี'''
|[[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี]]
|-
|'''พระบรมราชินี'''
|[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]]
|-
|'''พระราชบุตร'''
| - [[ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี]]
- [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร]]
- [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี]]
- [[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]]
|-
|'''ลายพระอภิไธย'''
|
|}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:43, 14 ตุลาคม 2559

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่เก้าแห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน 2489 เป็นพระมหากษัตริย์ผู้เสวยราชย์ยาวนานที่สุดในประเทศไทย[2]

พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น ในคราวปี 2524 และปี 2528 กระนั้น ก็ได้ทรงแต่งตั้งหัวหน้าคณะยึดอำนาจหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ในช่วงพุทธทศวรรษที่ 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ในช่วงปลายพุทธทศวรรษที่ 2540 ตลอดรัชกาลของพระองค์ เกิดรัฐประหารโดยกองทัพสิบกว่าครั้ง รัฐธรรมนูญเกือบ 20 ฉบับ และนายกรัฐมนตรีเกือบ 30 คน

ประชาชนชาวไทยจำนวนมากเคารพพระองค์[3][4][5] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะและผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[5] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[6][7] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อปี 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[8]

พระบรมนามาภิไธย พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช พระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร[1] พระราชอิสริยยศ พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรไทย ราชวงศ์ ราชวงศ์จักรี ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 บรมราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 รัชกาล 70 ปี 127 วัน รัชกาลก่อน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระพุทธรูปประจำพระชนมวาร พระพุทธรูปปางอภัยมุทรา พุทธลักษณะสุโขทัย ข้อมูลส่วนพระองค์ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 ปี) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย พระบรมราชชนก สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบรมราชชนนี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบรมราชินี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระราชบุตร - ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี - สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร - สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี - สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ลายพระอภิไธย

พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติ ได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[9] กับทั้งพระองค์ยังทรงเป็นเจ้าของสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ์ งานพระราชนิพนธ์ และงานดนตรีจำนวนหนึ่งด้วย[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์นิตยสารฟอบส์จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ผู้มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก ตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์นั้นใช้สินทรัพย์เพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระมหากษัตริย์แต่พระองค์เดียว[13] ขณะที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชก็ได้ทรงอุทิศพระราชทรัพย์ไปในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายต่อหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14]

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

พระบรมนามาภิไธย พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช
พระปรมาภิไธย (ชื่อเต็ม) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร[1]
พระราชอิสริยยศ พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรไทย
ราชวงศ์ ราชวงศ์จักรี
ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489
บรมราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
รัชกาล 70 ปี 127 วัน
รัชกาลก่อน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
พระพุทธรูปประจำพระชนมวาร พระพุทธรูปปางอภัยมุทรา พุทธลักษณะสุโขทัย
ข้อมูลส่วนพระองค์
พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470

เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา

สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 ปี)

โรงพยาบาลศิริราชกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

พระบรมราชชนก สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
พระบรมราชชนนี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
พระบรมราชินี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
พระราชบุตร ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมารสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารีสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ลายพระอภิไธย