ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:GDP_per_capita_PPP_2014-en.svg|400px|thumb|จีดีพีต่อหัว (พีพีพี) ในปี ค.ศ. 2014]]
[[ไฟล์:GDP_per_capita_PPP_2014-en.svg|400px|thumb|จีดีพีต่อหัว (พีพีพี) ในปี ค.ศ. 2014]]


'''ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ''' ({{lang-en|purchasing power parity, PPP}}) หรือ '''ประสิทธิผลของเงิน''' เป็นค่าค่าหนึ่งที่เกิดจากการประมาณทางเทคนิคโดยใช้[[ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์]] เพื่อคำนวณหามูลค่าที่แท้จริงของ[[สกุลเงิน]]แต่ละประเทศ แสดงผลในสกุลเงิน[[ดอลลาร์สหรัฐ]]
'''ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ''' ({{lang-en|purchasing power parity, PPP}}) หรือ '''ประสิทธิผลของเงิน''' เป็นค่าค่าหนึ่งที่เกิดจากการประมาณทางเทคนิคโดยใช้[[ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์]]เพื่อคำนวณหาระดับการบริโภคสินค้าและบริการในแต่ละประเทศ โดยใช้ราคาสินค้าและบริการใน[[สหรัฐอเมริกา]]เป็นฐานในการคำนวณ และแสดงผลในสกุลเงิน[[ดอลลาร์สหรัฐ]]


== ในบริบทของจีดีพี ==
== ในบริบทของจีดีพี ==
[[จีดีพี]]แบบความเสมอภาคของอำนาจซื้อ จะสะท้อนว่าประเทศนั้นๆได้ผลิตสินค้าและบริการรวมกันมากน้อยแค่ไหนหากใช้ราคาสินค้าและบริการในสหรัฐอเมริหาเป็นฐานในการคำนวณ อาทิ ประเทศไทยผลิตน้ำตาลในหนึ่งปีได้หนึ่งแสนตัน การคำนวณแบบ PPP จะไม่สนว่าหนึ่งแสนตันนี้จะจำหน่ายในประเทศและส่งออกได้เงินเป็นจำนวนเงินเท่าไหร่ แต่เราจะสนว่าราคาน้ำตาลในสหรัฐอเมริกาเป็นเท่าไหร่แล้วจึงนำราคานั้นมาคำนวณมูลค่า ก็จะได้เป็น PPP จากภาคอุตสาหกรรมน้ำตาลของไทย
[[จีดีพี]]แบบภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ มักจะสะท้อนอำนาจการบริโภคหรือชีวิตความเป็นอยู่ได้ดีกว่าจีดีพีแบบตัวเงิน ประเทศกำลังพัฒนา มักจะมีจีดีพี (พีพีพี) สูงกว่าจีดีพี (ตัวเงิน) อาทิ

ดังนั้นจีดีพีแบบอำนาจซื้อจะสะท้อนอำนาจการบริโภคหรือชีวิตความเป็นอยู่ได้ดีกว่าจีดีพีแบบตัวเงิน ประเทศกำลังพัฒนา มักจะมีจีดีพี (พีพีพี) สูงกว่าจีดีพี (ตัวเงิน) อาทิ


{|class="wikitable" style="text-align: right"
{|class="wikitable" style="text-align: right"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:27, 11 ตุลาคม 2559

จีดีพีต่อหัว (พีพีพี) ในปี ค.ศ. 2014

ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ (อังกฤษ: purchasing power parity, PPP) หรือ ประสิทธิผลของเงิน เป็นค่าค่าหนึ่งที่เกิดจากการประมาณทางเทคนิคโดยใช้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์เพื่อคำนวณหาระดับการบริโภคสินค้าและบริการในแต่ละประเทศ โดยใช้ราคาสินค้าและบริการในสหรัฐอเมริกาเป็นฐานในการคำนวณ และแสดงผลในสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ

ในบริบทของจีดีพี

จีดีพีแบบความเสมอภาคของอำนาจซื้อ จะสะท้อนว่าประเทศนั้นๆได้ผลิตสินค้าและบริการรวมกันมากน้อยแค่ไหนหากใช้ราคาสินค้าและบริการในสหรัฐอเมริหาเป็นฐานในการคำนวณ อาทิ ประเทศไทยผลิตน้ำตาลในหนึ่งปีได้หนึ่งแสนตัน การคำนวณแบบ PPP จะไม่สนว่าหนึ่งแสนตันนี้จะจำหน่ายในประเทศและส่งออกได้เงินเป็นจำนวนเงินเท่าไหร่ แต่เราจะสนว่าราคาน้ำตาลในสหรัฐอเมริกาเป็นเท่าไหร่แล้วจึงนำราคานั้นมาคำนวณมูลค่า ก็จะได้เป็น PPP จากภาคอุตสาหกรรมน้ำตาลของไทย

ดังนั้นจีดีพีแบบอำนาจซื้อจะสะท้อนอำนาจการบริโภคหรือชีวิตความเป็นอยู่ได้ดีกว่าจีดีพีแบบตัวเงิน ประเทศกำลังพัฒนา มักจะมีจีดีพี (พีพีพี) สูงกว่าจีดีพี (ตัวเงิน) อาทิ

ข้อมูลปี ค.ศ. 2014[1][2]
ประเทศ จีดีพีต่อหัว (ตัวเงิน) จีดีพีต่อหัว (พีพีพี) อัตราทด
อินเดีย 1,630 ดอลลาร์สหรัฐ 5,833 ดอลลาร์สหรัฐ 3.58
ไทย 5,560 ดอลลาร์สหรัฐ 14,660 ดอลลาร์สหรัฐ 2.63
แอฟริกาใต้ 6,477 ดอลลาร์สหรัฐ 13,046 ดอลลาร์สหรัฐ 2.01
เดนมาร์ก 60,634 ดอลลาร์สหรัฐ 44,862 ดอลลาร์สหรัฐ 0.74

จากข้อมูลข้างต้น จะพบว่า แอฟริกาใต้มีรายได้ตัวเงินต่อหัวสูงกว่าประเทศไทย แต่กลับมีอำนาจซื้อต่อหัวต่ำกว่าไทย ซึ่งสามารถสะท้อนได้ว่า "ในประเทศไทยสามารถใช้เงินในจำนวนที่น้อยกว่าเพื่อบริโภคสินค้าและบริการที่มากกว่าในประเทศแอฟริกาใต้" และเมื่อพิจารณาอัตราทดแล้ว (อำนาจซื้อต่อหัว/รายได้ตัวเงินต่อหัว) จะพบว่า ในบรรดาสี่ประเทศนี้ ชาวอินเดียสามารถใช้เงินได้มีประสิทธิผลมากที่สุด (สินค้าและบริการมีราคาถูกที่สุด) ในขณะที่ชาวเดนมาร์กนั้นมีราคาสินค้าและบริการแพงที่สุด

อ้างอิง

  1. GDP per capita (current US$) ธนาคารโลก
  2. GDP per capita, PPP (current international $) ธนาคารโลก