ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เท่าเทียมกัน" → "เสมอภาค" ด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:GDP_per_capita_PPP_2014-en.svg|400px|thumb|GDP ต่อหัว (PPP) ในปี 2014]]
[[ไฟล์:GDP_per_capita_PPP_2014-en.svg|400px|thumb|GDP ต่อหัว (PPP) ในปี 2014]]


'''ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ''' (Purchasing power parity หรือ '''PPP''') หรือ '''ประสิทธิผลของเงิน''' เป็นค่าค่าหนึ่งที่เกิดจากการประมาณทางเทคนิคโดยใช้[[ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์]] เพื่อคำนวณหามูลค่าที่แท้จริงของ[[สกุลเงิน]]แต่ละประเทศ แสดงผลในสกุลเงิน[[ดอลล่าร์สหรัฐ]]
'''ความเสมอภาคของอำนาจซื้อ''' (Purchasing power parity หรือ '''PPP''') หรือ '''ประสิทธิผลของเงิน''' เป็นค่าค่าหนึ่งที่เกิดจากการประมาณทางเทคนิคโดยใช้[[ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์]] เพื่อคำนวณหามูลค่าที่แท้จริงของ[[สกุลเงิน]]แต่ละประเทศ แสดงผลในสกุลเงิน[[ดอลล่าร์สหรัฐ]]


== ในบริบทของจีดีพี ==
== ในบริบทของจีดีพี ==
[[จีดีพี]]แบบความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ มักจะสะท้อนอำนาจการบริโภคหรือชีวิตความเป็นอยู่ได้ดีกว่าจีดีพีแบบตัวเงิน ประเทศกำลังพัฒนา มักจะมี[[GDP]] (PPP) สูงกว่า[[GDP]] (ตัวเงิน) อาทิ
[[จีดีพี]]แบบความเสมอภาคของอำนาจซื้อ มักจะสะท้อนอำนาจการบริโภคหรือชีวิตความเป็นอยู่ได้ดีกว่าจีดีพีแบบตัวเงิน ประเทศกำลังพัฒนา มักจะมี[[GDP]] (PPP) สูงกว่า[[GDP]] (ตัวเงิน) อาทิ


{|class="wikitable" style="text-align: right"
{|class="wikitable" style="text-align: right"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:15, 9 ตุลาคม 2559

GDP ต่อหัว (PPP) ในปี 2014

ความเสมอภาคของอำนาจซื้อ (Purchasing power parity หรือ PPP) หรือ ประสิทธิผลของเงิน เป็นค่าค่าหนึ่งที่เกิดจากการประมาณทางเทคนิคโดยใช้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ เพื่อคำนวณหามูลค่าที่แท้จริงของสกุลเงินแต่ละประเทศ แสดงผลในสกุลเงินดอลล่าร์สหรัฐ

ในบริบทของจีดีพี

จีดีพีแบบความเสมอภาคของอำนาจซื้อ มักจะสะท้อนอำนาจการบริโภคหรือชีวิตความเป็นอยู่ได้ดีกว่าจีดีพีแบบตัวเงิน ประเทศกำลังพัฒนา มักจะมีGDP (PPP) สูงกว่าGDP (ตัวเงิน) อาทิ

ข้อมูลปี 2014 (ดอลล่าร์สหรัฐ) [1][2]
ประเทศ จีดีพีต่อหัว (ตัวเงิน) จีดีพีต่อหัว (PPP) อัตราทด
อินเดีย $1,630 $5,833 3.58
ไทย $5,560 $14,660 2.63
แอฟริกาใต้ $6,477 $13,046 2.01
เดนมาร์ก $60,634 $44,862 0.74

จากข้อมูลข้างต้น จะพบว่า แอฟริกาใต้ มีรายได้ตัวเงินต่อหัวสูงกว่าประเทศไทย แต่กลับมีอำนาจซื้อต่อหัวต่ำกว่าไทย ซึ่งสามารถสะท้อนได้ว่า "ในประเทศไทยสามารถใช้เงินในจำนวนที่น้อยกว่าเพื่อบริโภคสินค้าและบริการที่มากกว่าในประเทศแอฟริกาใต้" และเมื่อพิจารณาอัตราทดแล้ว (อำนาจซื้อต่อหัว/รายได้ตัวเงินต่อหัว) จะพบว่า ในบรรดาสี่ประเทศนี้ ชาวอินเดียสามารถใช้เงินได้มีประสิทธิผลมากที่สุด (สินค้าและบริการมีราคาถูกที่สุด) ในขณะที่ชาวเดนมาร์กนั้น มีราคาสินค้าและบริการแพงที่สุด

อ้างอิง

  1. GDP per capita (current US$) ธนาคารโลก
  2. GDP per capita, PPP (current international $) ธนาคารโลก