ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น||ซอฟต์แวร์เสรี|ทอร์ (ซอฟต์แวร์)}}
{{ความหมายอื่น||ซอฟต์แวร์เสรี|ธอร์ (ซอฟต์แวร์)}}
[[ไฟล์:Thor.jpg|thumb|ทอร์]]
[[ไฟล์:Thor.jpg|thumb|ทอร์]]


ในเทพปกรณัมนอร์ส '''ทอร์''' ({{lang-en|Thor}}, จาก[[ภาษานอร์สโบราณ]] Þórr) เป็นเทพถือค้อนซึ่งเกี่ยวข้องกับสายฟ้า ฟ้าร้อง พายุ ต้นโอ๊ก พละกำลัง การคุ้มครองมนุษยชาติ และตลอดจนการทำให้ศักดิ์สิทธิ์ การรักษาและความอุดมสมบูรณ์ เทพที่มาจากกำเนิดเดียวกันในเทพปกรณัมเยอรมันและ[[เพเกิน]]ที่กว้างกว่า เป็นที่รูจักกันใน[[ภาษาอังกฤษเก่า]]ว่า Þunor และภาษาเยอรมันโบราณเขตเหนือว่า Donar (อักษรรูน þonar ᚦᛟᚾᚨᚱ) ซึ่งกำเนิดจากภาษาโปรโตเยอรมัน *Þunraz (หมายถถึง "สายฟ้า")
ในเทพปกรณัมนอร์ส '''ธอร์''' ({{lang-en|Thor}}, จาก[[ภาษานอร์สโบราณ]] Þórr) เป็นเทพถือค้อนซึ่งเกี่ยวข้องกับสายฟ้า ฟ้าร้อง พายุ ต้นโอ๊ก พละกำลัง การคุ้มครองมนุษยชาติ และตลอดจนการทำให้ศักดิ์สิทธิ์ การรักษาและความอุดมสมบูรณ์ เทพที่มาจากกำเนิดเดียวกันในเทพปกรณัมเยอรมันและ[[เพเกิน]]ที่กว้างกว่า เป็นที่รูจักกันใน[[ภาษาอังกฤษเก่า]]ว่า Þunor และภาษาเยอรมันโบราณเขตเหนือว่า Donar (อักษรรูน þonar ᚦᛟᚾᚨᚱ) ซึ่งกำเนิดจากภาษาโปรโตเยอรมัน *Þunraz (หมายถถึง "สายฟ้า")


ทอร์เป็นเทพที่ได้รับการกล่าวถึงอย่างสำคัญตลอดประวัติศาสตร์ที่มีการบันทึกของ[[ชาวเยอรมัน]] จากการยึดครองดินแดนเยอรมาเนียของโรมัน ไปจนถึงการขยายชนเผ่าใน[[สมัยการโยกย้ายถิ่นฐานในยุโรป|สมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน]] ไปจนถึงการได้รับความนิยมอย่างสูงในยุคไวกิ้ง เมื่อ ในการเผชิญกับกระบวนการเผยแผ่ศาสนาคริสต์เข้าไปในสแกนดิเนเวีย สัญลักษณ์ค้อนมจอลนีร์ (Mjölnir) ของพระองค์ ถูกสวมใส่เป็นการท้าทายและชื่อตัวของนอร์สเพเกินซึ่งมีชื่อของเทพเจ้าเป็นพยานต่อความนิยมของเขา เมื่อย่างเข้าสู่สมัยใหม่ ทอร์ยังได้การยอมรับต่อไปในตำนานพื้นบ้านชนบททั่วภูมิภาคเยอรมนี ทอร์มักอ้างถึงบ่อยครั้งในชื่อสถานที่ ในวันประจำสัปดาห์ [[วันพฤหัสบดี ]](Thursday ("วันของทอร์") ปรากฏนามของพระองค์ และชื่อซึ่งมาจากยุคเพเกินที่มีนามพระองค์นั้นยังมีใช้กันอยู่จวบจนปัจจุบัน ตลอดจนยังเป็นที่มาของคำว่า "[[ฟ้าร้อง]]" หรือ "[[ฟ้าผ่า]]" ในภาษาอังกฤษ (Thunder) อีกด้วย นอกจากนี้แล้วนักวิชาการชาวอังกฤษผู้หนึ่งยังเชื่อว่า ค้อนมจอลนีร์ที่มีลักษณะขว้างไปแล้วสามารถวนกลับมาสู่มือของทอร์ได้เหมือน[[บูมเมอแรง]] เป็นที่มาของสัญลักษณ์[[สวัสดิกะ]] ที่แพร่หลายต่อมาในอารยธรรมของ[[ชาวอารยัน]]อีกด้วย<ref name="หน้า"/>
ธอร์เป็นเทพที่ได้รับการกล่าวถึงอย่างสำคัญตลอดประวัติศาสตร์ที่มีการบันทึกของ[[ชาวเยอรมัน]] จากการยึดครองดินแดนเยอรมาเนียของโรมัน ไปจนถึงการขยายชนเผ่าใน[[สมัยการโยกย้ายถิ่นฐานในยุโรป|สมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน]] ไปจนถึงการได้รับความนิยมอย่างสูงในยุคไวกิ้ง เมื่อ ในการเผชิญกับกระบวนการเผยแผ่ศาสนาคริสต์เข้าไปในสแกนดิเนเวีย สัญลักษณ์ค้อนมจอลนีร์ (Mjölnir) ของพระองค์ ถูกสวมใส่เป็นการท้าทายและชื่อตัวของนอร์สเพเกินซึ่งมีชื่อของเทพเจ้าเป็นพยานต่อความนิยมของเขา เมื่อย่างเข้าสู่สมัยใหม่ ธอร์ยังได้การยอมรับต่อไปในตำนานพื้นบ้านชนบททั่วภูมิภาคเยอรมนี ธอร์มักอ้างถึงบ่อยครั้งในชื่อสถานที่ ในวันประจำสัปดาห์ [[วันพฤหัสบดี ]](Thursday ("วันของธอร์") ปรากฏนามของพระองค์ และชื่อซึ่งมาจากยุคเพเกินที่มีนามพระองค์นั้นยังมีใช้กันอยู่จวบจนปัจจุบัน ตลอดจนยังเป็นที่มาของคำว่า "[[ฟ้าร้อง]]" หรือ "[[ฟ้าผ่า]]" ในภาษาอังกฤษ (Thunder) อีกด้วย นอกจากนี้แล้วนักวิชาการชาวอังกฤษผู้หนึ่งยังเชื่อว่า ค้อนมจอลนีร์ที่มีลักษณะขว้างไปแล้วสามารถวนกลับมาสู่มือของทอร์ได้เหมือน[[บูมเมอแรง]] เป็นที่มาของสัญลักษณ์[[สวัสดิกะ]] ที่แพร่หลายต่อมาในอารยธรรมของ[[ชาวอารยัน]]อีกด้วย<ref name="หน้า"/>


ทอร์เป็นหนึ่งในสิบสองสำคัญของเทพเจ้าสแกนดิเนเวีย เป็นเทพแห่งสายฟ้า ทอร์เป็นบุตรของเทพเจ้า[[โอดิน]] และจอร์ดน่ง (Fjörgyn) ยักษ์แห่งแผ่นดิน<ref name="หน้า">หน้า 3, ''เทพสายฟ้า ผู้พิชิต''. "ชักธงรบ" โดย กิเลน ประลองเชิง. '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 67 ฉบับที่ 21303: วันพฤหัสบดีที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก</ref>
ธอร์เป็นหนึ่งในสิบสองสำคัญของเทพเจ้าสแกนดิเนเวีย เป็นเทพแห่งสายฟ้า ทอร์เป็นบุตรของเทพเจ้า[[โอดิน]] และจอร์ดน่ง (Fjörgyn) ยักษ์แห่งแผ่นดิน<ref name="หน้า">หน้า 3, ''เทพสายฟ้า ผู้พิชิต''. "ชักธงรบ" โดย กิเลน ประลองเชิง. '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 67 ฉบับที่ 21303: วันพฤหัสบดีที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก</ref>


==ตำนาน==
==ตำนาน==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:33, 5 ตุลาคม 2559

ทอร์

ในเทพปกรณัมนอร์ส ธอร์ (อังกฤษ: Thor, จากภาษานอร์สโบราณ Þórr) เป็นเทพถือค้อนซึ่งเกี่ยวข้องกับสายฟ้า ฟ้าร้อง พายุ ต้นโอ๊ก พละกำลัง การคุ้มครองมนุษยชาติ และตลอดจนการทำให้ศักดิ์สิทธิ์ การรักษาและความอุดมสมบูรณ์ เทพที่มาจากกำเนิดเดียวกันในเทพปกรณัมเยอรมันและเพเกินที่กว้างกว่า เป็นที่รูจักกันในภาษาอังกฤษเก่าว่า Þunor และภาษาเยอรมันโบราณเขตเหนือว่า Donar (อักษรรูน þonar ᚦᛟᚾᚨᚱ) ซึ่งกำเนิดจากภาษาโปรโตเยอรมัน *Þunraz (หมายถถึง "สายฟ้า")

ธอร์เป็นเทพที่ได้รับการกล่าวถึงอย่างสำคัญตลอดประวัติศาสตร์ที่มีการบันทึกของชาวเยอรมัน จากการยึดครองดินแดนเยอรมาเนียของโรมัน ไปจนถึงการขยายชนเผ่าในสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน ไปจนถึงการได้รับความนิยมอย่างสูงในยุคไวกิ้ง เมื่อ ในการเผชิญกับกระบวนการเผยแผ่ศาสนาคริสต์เข้าไปในสแกนดิเนเวีย สัญลักษณ์ค้อนมจอลนีร์ (Mjölnir) ของพระองค์ ถูกสวมใส่เป็นการท้าทายและชื่อตัวของนอร์สเพเกินซึ่งมีชื่อของเทพเจ้าเป็นพยานต่อความนิยมของเขา เมื่อย่างเข้าสู่สมัยใหม่ ธอร์ยังได้การยอมรับต่อไปในตำนานพื้นบ้านชนบททั่วภูมิภาคเยอรมนี ธอร์มักอ้างถึงบ่อยครั้งในชื่อสถานที่ ในวันประจำสัปดาห์ วันพฤหัสบดี (Thursday ("วันของธอร์") ปรากฏนามของพระองค์ และชื่อซึ่งมาจากยุคเพเกินที่มีนามพระองค์นั้นยังมีใช้กันอยู่จวบจนปัจจุบัน ตลอดจนยังเป็นที่มาของคำว่า "ฟ้าร้อง" หรือ "ฟ้าผ่า" ในภาษาอังกฤษ (Thunder) อีกด้วย นอกจากนี้แล้วนักวิชาการชาวอังกฤษผู้หนึ่งยังเชื่อว่า ค้อนมจอลนีร์ที่มีลักษณะขว้างไปแล้วสามารถวนกลับมาสู่มือของทอร์ได้เหมือนบูมเมอแรง เป็นที่มาของสัญลักษณ์สวัสดิกะ ที่แพร่หลายต่อมาในอารยธรรมของชาวอารยันอีกด้วย[1]

ธอร์เป็นหนึ่งในสิบสองสำคัญของเทพเจ้าสแกนดิเนเวีย เป็นเทพแห่งสายฟ้า ทอร์เป็นบุตรของเทพเจ้าโอดิน และจอร์ดน่ง (Fjörgyn) ยักษ์แห่งแผ่นดิน[1]

ตำนาน

ในตำนานของนอร์ส โลกประกอบไปด้วยสามชั้น โดยเปรียบเหมือนกับต้นไม้ ส่วนที่อยู่บนกิ่งก้านจะเรียกว่าแอสการ์ด (Asgard) ซึ่งเป็นที่อยู่ของมวลหมู่เทพ ที่ตรงข้ามหรือด้านล่างเป็นอาณาจักรของความมืดและความหนาวเย็นที่เรียกว่าเฮล เป็นดินแดนแห่งความตาย และจากความเชื่อนี้ที่ก่อให้เกิดคำว่านรกขึ้นมา ส่วนที่อยู่ตรงกลางนั้นเรียกว่ามิดการ์ดหรือโลกที่เป็นที่อยู่ของมนุษย์ ธอร์อาศัยอยู่ในมิดการ์ด เขามีหน้าที่กำจัดศัตรูของมนุษย์ พวกยักษ์ใหญ่ที่ชั่วร้าย ยักษ์ใหญ่เหล่านี้เป็นตัวแทนของหายนะต่างๆ ถ้ามีหิมะถล่มหรือแผ่นดินไหวเกิดขึ้นนั่นเป็นผลงานมาจากยักษ์ตนหนึ่ง ชาวนอร์สแทนสิ่งเหล่านี้ว่าเป็นภัยพิบัติมาจากปิศาจต่างๆ

อาวุธของเทพเจ้าสายฟ้า

ค้อนสายฟ้าและตามตำนานได้บอกว่าเหตุการณ์ที่ธอร์สูญเสียค้อนไปให้ผู้อื่นนั้นเคยเกิดขึ้นมาแล้ว ในพระราชวังวัลฮาลล่า (Valhalla) สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของเทพต่างๆ ของนอร์ส ราชาของยักษ์ได้แอบเข้าไปในห้องนอนของธอร์เพื่อขโมยค้อนของเขาไป ยักษ์ตนนี้รู้ว่าถ้าธอร์ปราศจากค้อน ธอร์ก็จะไร้ซึ่งพิษสง และเจ้ายักษ์นั้นว่งแผนที่จะใช้มันเป็นสิ่งแลกเปลี่ยน เมื่อธอร์ตื่นขึ้นมาก็พบว่าค้อนของเขาหายไป

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 หน้า 3, เทพสายฟ้า ผู้พิชิต. "ชักธงรบ" โดย กิเลน ประลองเชิง. ไทยรัฐปีที่ 67 ฉบับที่ 21303: วันพฤหัสบดีที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก