ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กุสตาว ฮูซาก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
| successor2=[[วาตสลัฟ ฮาแว็ล]]
| successor2=[[วาตสลัฟ ฮาแว็ล]]
| birth_date={{birth date|1913|1|10|df=y}}
| birth_date={{birth date|1913|1|10|df=y}}
| birth_place=[[ดูเบรากา (บราติสลาวา)|Pozsonyhidegkút]], [[Pozsony County]], [[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]] <br> (ปัจจุบันคือ [[ดูเบรากา (บราติสลาวา)|ดูเบรากา]], [[บราติสลาวา]], [[สโลวาเกีย]])
| birth_place=[[ดูเบรากา (บราติสลาวา)|Pozsonyhidegkút]], [[Pozsony County]], [[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]] <br> <small>(ปัจจุบันคือ[[ดูเบรากา (บราติสลาวา)|ดูเบรากา]], [[บราติสลาวา]], [[สโลวาเกีย]])</small>
| death_date={{death date and age|1991|11|18|1913|1|10|df=y}}
| death_date={{death date and age|1991|11|18|1913|1|10|df=y}}
| death_place=[[บราติสลาวา]], [[เชโกสโลวาเกีย]] <br> <small>(ปัจจุบันคือ[[สโลวาเกีย]])</small>
| death_place=[[บราติสลาวา]], [[เชโกสโลวาเกีย]] <br> <small>(ปัจจุบันคือ[[สโลวาเกีย]])</small>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:34, 2 ตุลาคม 2559

กุสตาว ฮูซาก
เลขาธิการกลางแห่งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวะเกีย
ดำรงตำแหน่ง
17 เมษายน 1969 – 17 ธันวาคม 1987
ก่อนหน้าอเล็กซานเดอร์ ดุปเชค
ถัดไปมิโลช ยาแก็ช
ประธานาธิบดีคนที่ 9 แห่งเชโกสโลวะเกีย
ดำรงตำแหน่ง
29 พฤษภาคม 1975 – 10 ธันวาคม 1989
ก่อนหน้าลุดวีก สโวโบดา
ถัดไปวาตสลัฟ ฮาแว็ล
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด10 มกราคม ค.ศ. 1913(1913-01-10)
Pozsonyhidegkút, Pozsony County, จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
(ปัจจุบันคือดูเบรากา, บราติสลาวา, สโลวาเกีย)
เสียชีวิต18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1991(1991-11-18) (78 ปี)
บราติสลาวา, เชโกสโลวาเกีย
(ปัจจุบันคือสโลวาเกีย)
พรรคการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย
คู่สมรสDr. Magda Husáková-Lokvencová (1938-1966 จนเธอเสียชีวิต)
Viera Husáková-Čáslavská (1975-1977 จนเธอเสียชีวิต)
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยคะมีเนียส
ลายมือชื่อ

กุสตาว ฮูซาก (สโลวัก: Gustáv Husák, เสียงอ่านภาษาเช็ก: [ˈɡustaːu̯ ˈɦusaːk]) เป็นนักการเมืองชาวสโลวัก ประธานาธิบดีแห่งเชโกสโลวะเกีย และเลขาธิการกลางแห่งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวะเกีย สมัยที่เขาปกครองมีชื่อเรียกว่า "สมัยปรับให้เป็นปกติ" (Normalization) หลังจากปรากสปริง โดยในสมัยนี้ฮูซากปกครองประเทศอย่างเข้มงวดและใกล้ชิดกับทางมอสโกมากขึ้น ก่อนที่จะถูกขับออกจากตำแหน่งเลขาธิการในเหตุการณ์การปฏิวัติกำมะหยี่