ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผักกาดหัว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
|image = Daikon.Japan.jpg
|image = Daikon.Japan.jpg
|image_caption = ผักกาดหัว (สีขาว)
|image_caption = ผักกาดหัว (สีขาว)
| image_width = 250px
|regnum = [[Plantae]]
|regnum = [[Plantae]]
|unranked_divisio = [[Angiosperms]]
|unranked_divisio = [[Angiosperms]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:43, 19 กันยายน 2559

ผักกาดหัว
ผักกาดหัว (สีขาว)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots
ไม่ได้จัดลำดับ: Rosids
อันดับ: Brassicales
วงศ์: Brassicaceae
สกุล: Raphanus
สปีชีส์: R.  sativus
สปีชีส์ย่อย: R.  sativus subsp. longipinnatus[1]
Trinomial name
Raphanus sativus subsp. longipinnatus
L.

ผักกาดหัว (ชื่อวิทยาศาสตร์: Raphanus sativus subsp. longipinnatus) หรือชื่ออื่น ๆ เช่น หัวผักกาด, หัวไช้เท้า หรือ หัวไชเท้า เป็นสปีชีส์ย่อยของ ผักกาดหัวสีแดง (R. sativus) [1] ในอาหารญี่ปุ่นหัวไช้เท้าดิบมาขูดฝอยลงในซีอิ๊วและซอสต่างๆ ใช้เป็นน้ำจิ้ม ใส่ในต้มเค็ม และนิยมต้มปลาหมึกสดกับผักกาดหัวเพื่อช่วยให้เนื้อปลาหมึกนุ่มน่ารับประทาน[2] ชาวจีนนำมาดองแล้วตากแห้งเป็นหัวไช้โป๊ ใช้กินกับข้าวต้ม แกงจืดหรือผัดไข่ หัวผักกาดขาวสดในอาหารจีนใช้ใส่ในแกงจืด ขนมหัวผักกาด ในอาหารไทยใช้ทำแกงจืด แกงส้ม ในอาหารกัมพูชาใช้เป็นผักสด กินกับน้ำพริกปลาร้าผัด ในอาหารพม่านำไปทำส้มตำ ดองแล้วนำมายำ ในอาหารเกาหลีใช้ทำกิมจิ ในอาหารเวียดนามใช้ซอยใส่ในน้ำจิ้มต่างๆ ใส่ในต้มจืด ต้มเค็ม[3]

ชาวจีนโบราณนำผักกาดหัวมาใช้รักษาโรคหัดในเด็ก[2]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Mish, Frederick C., Editor in Chief. “Daikon.” Webster’s Ninth New Collegiate Dictionary. 9th ed. Springfield, MA: Merriam-Webster Inc., 1985. ISBN 0-87779-508-8, ISBN 0-87779-509-6 (indexed), and ISBN 0-87779-510-X (deluxe).
  2. 2.0 2.1 หน้า 22 เกษตร, ผักกาดหัว. "เรื่องน่ารู้". เดลินิวส์ฉบับที่ 24,448: วันจันทร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2559 แรม 3 ค่ำ เดือน 10 ปีวอก
  3. นิดดา หงส์วิวัฒน์. หัวผักกาดขาว. ครัว. ปีที่ 20 ฉบับที่ 240 มิถุนายน 2557