ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะกรรมาธิการยุโรป"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
 
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox
#redirect [[สหภาพยุโรป#คณะกรรมาธิการยุโรป]]
|above =คณะกรรมาธิการยุโรป
|headerstyle = background-color:#ccccff;
|image = [[File:Flag of Europe.svg|200px]]
|label1 = ประเภท
|data1 = สถาบันของสหภาพยุโรป
|label2 = บทบาท
|data2 = ฝ่ายบริหาร
|label3 = จัดตั้ง
|data3 = พ.ศ. 2501
|header4 = โครงสร้าง
|label5 = ข้อมูลกรรมาธิการ
|data5 =
|label6 = ประธาน
|data6 = [[Jean-Claude Juncker|ฌ็อง-คลูเดอ ฌุงแกร์]]
|label7 = รองประธานที่หนึ่ง
|data7 = [[Frans Timmermans|ฟรันส์ ทิมเมอมันส์]]
|label8 =
|data8 =
|label9 = จำนวนสมาชิก
|data9 = 28 ผู้แทน
|header10 = การดำเนินงาน
|label11 = ภาษาทางการ
|data11 = อังกฤษ<br />ฝรั่งเศส<br />เยอรมัน
|label12 = ลูกจ้าง
|data12 = 23,000<ref>[http://ec.europa.eu/about/index_en.htm EC.europa.eu]</ref>
|label13 =
|data13 =
|label14 = ที่ทำการ
|data14 = [[บรัสเซลส์]], ประเทศเบลเยียม<br />[[ลักเซมเบิร์ก]], ประเทศลักเซมเบิร์ก
|header15 = เว็บไซต์
|data16 = [http://ec.europa.eu/index_en.htm ec.europa.eu]
}}

'''คณะกรรมาธิการยุโรป''' ({{lang-en|European Commission}}, {{lang-de|Europäische Kommission}}) เป็นองค์กรฝ่ายบริหารของ[[สหภาพยุโรป]] รับผิดชอบการออกกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆของสหภาพยุโรป รวมไปถึงดำเนินกิจการต่างๆของสหภาพยุโรปให้เป็นไปอย่างเรียบร้อยในทุกๆวัน<ref name="Europa Institutions">{{cite web|title=Institutions of the EU: The European Commission|publisher=[[Europa (web portal)|Europa]]|url=http://europa.eu/institutions/inst/comm/index_en.htm|accessdate=18 June 2007 |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070623104055/http://europa.eu/institutions/inst/comm/index_en.htm |archivedate=2007-06-23}}</ref> ก่อนเข้าปฏิบัติหน้าที่ สมาชิกคณะกรรมาธิการจะต้องให้สัตย์สาบานต่อ[[ศาลยุติธรรมแห่งยุโรป]]ซึ่งตั้งอยู่ใน[[ลักเซมเบิร์ก]] ว่าจะเคารพซึ่งสนธิสัญญาต่างๆรวมถึงจะเป็นกรรมาธิการซึ่งมีอิสระในการตัดสินใจโดยไม่ขึ้นแก่ผู้ใดในระหว่างที่ดำรงตำแหน่ง<ref name=oath>[http://europa.eu/rapid/press-release_IP-10-487_en.htm europa.eu: "European Commission swears oath to respect the EU Treaties" 3 May 2010]</ref>

คณะกรรมาธิการยุโรปปฏิบัติหน้าที่เสมือนคณะรัฐมนตรีซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 28 คน(ที่เรียกว่า "กรรมาธิการ")จาก 28 ชาติสมาชิกสหภาพยุโรป แม้จะเป็นตัวแทนของแต่ละชาติ แต่กรรมาธิการจะต้องสาบานตนว่าจะดำรงตำแหน่งและปฏิบัติหน้าที่เพื่อพิทักษ์ซึ่งผลประโยชน์ของสหภาพยุโรป กระบวนการสรรหาคณะกรรมาธิการจะเริ่มที่[[คณะกรรมการยุโรป]] (European Council) เสนอชื่อบุคคลหนึ่งเพื่อให้[[รัฐสภายุโรป]]ลงมติรับรองให้ดำรงตำแหน่งประธานกรรมาธิการ หลังจากนั้น[[คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป]]จะเสนอชื่อกรรมาธิการอีก 27 คนให้ประธานกรรมาธิการพิจารณาเห็นชอบ หลังจากเห็นชอบแล้ว จึงเสนอชื่อกรรมาธิการทั้งคณะ 28 คนให้รัฐสภายุโรปลงมติรับรองอีกครั้งหนึ่ง เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการสรรหา

คณะกรรมาธิการยุโรปถือเป็นฝ่ายบริหารของสหภาพยุโรป มีเจ้าหน้าที่ในกำกับกว่า 23,000 คนซึ่งจะถูกแบ่งออกเป็นหลายกองที่เรียกว่า "กองอำนวยการ" (directorates-general) แต่ละกองมีผู้อำนวยการ (director-general) เป็นหัวหน้ากอง ทุกกองมีที่ทำการอยู่ในกรุง[[บรัสเซลส์]] ประเทศเบลเยียม
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://ec.europa.eu/index_en.htm European Commission] European Commission welcome page&nbsp;– Retrieved 12 May 2016.
* [http://archives.eui.eu/en/fonds/ Documents] of the European Commission are consultable at the [http://www.eui.eu/Research/HistoricalArchivesOfEU/Index.aspx Historical Archives of the EU] in Florence.
* [http://www.cvce.eu/obj/european_commission-en-281a3c0c-839a-48fd-b69c-bc2588c780ec.html European Commissions] on CVCE website&nbsp;– Multimedia website with historical information on the European integration Studies. No such material is found on the page. This page contains a legal Notice and warning about copyrighted material. Last Access 18 April 2013.

{{อียู}}
[[หมวดหมู่:การเมืองยุโรป]]
[[หมวดหมู่:องค์การระหว่างประเทศ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:35, 6 กันยายน 2559

คณะกรรมาธิการยุโรป
ประเภทสถาบันของสหภาพยุโรป
บทบาทฝ่ายบริหาร
จัดตั้งพ.ศ. 2501
โครงสร้าง
ประธานฌ็อง-คลูเดอ ฌุงแกร์
รองประธานที่หนึ่งฟรันส์ ทิมเมอมันส์
จำนวนสมาชิก28 ผู้แทน
การดำเนินงาน
ภาษาทางการอังกฤษ
ฝรั่งเศส
เยอรมัน
ลูกจ้าง23,000[1]
ที่ทำการบรัสเซลส์, ประเทศเบลเยียม
ลักเซมเบิร์ก, ประเทศลักเซมเบิร์ก
เว็บไซต์
ec.europa.eu

คณะกรรมาธิการยุโรป (อังกฤษ: European Commission, เยอรมัน: Europäische Kommission) เป็นองค์กรฝ่ายบริหารของสหภาพยุโรป รับผิดชอบการออกกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆของสหภาพยุโรป รวมไปถึงดำเนินกิจการต่างๆของสหภาพยุโรปให้เป็นไปอย่างเรียบร้อยในทุกๆวัน[2] ก่อนเข้าปฏิบัติหน้าที่ สมาชิกคณะกรรมาธิการจะต้องให้สัตย์สาบานต่อศาลยุติธรรมแห่งยุโรปซึ่งตั้งอยู่ในลักเซมเบิร์ก ว่าจะเคารพซึ่งสนธิสัญญาต่างๆรวมถึงจะเป็นกรรมาธิการซึ่งมีอิสระในการตัดสินใจโดยไม่ขึ้นแก่ผู้ใดในระหว่างที่ดำรงตำแหน่ง[3]

คณะกรรมาธิการยุโรปปฏิบัติหน้าที่เสมือนคณะรัฐมนตรีซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 28 คน(ที่เรียกว่า "กรรมาธิการ")จาก 28 ชาติสมาชิกสหภาพยุโรป แม้จะเป็นตัวแทนของแต่ละชาติ แต่กรรมาธิการจะต้องสาบานตนว่าจะดำรงตำแหน่งและปฏิบัติหน้าที่เพื่อพิทักษ์ซึ่งผลประโยชน์ของสหภาพยุโรป กระบวนการสรรหาคณะกรรมาธิการจะเริ่มที่คณะกรรมการยุโรป (European Council) เสนอชื่อบุคคลหนึ่งเพื่อให้รัฐสภายุโรปลงมติรับรองให้ดำรงตำแหน่งประธานกรรมาธิการ หลังจากนั้นคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปจะเสนอชื่อกรรมาธิการอีก 27 คนให้ประธานกรรมาธิการพิจารณาเห็นชอบ หลังจากเห็นชอบแล้ว จึงเสนอชื่อกรรมาธิการทั้งคณะ 28 คนให้รัฐสภายุโรปลงมติรับรองอีกครั้งหนึ่ง เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการสรรหา

คณะกรรมาธิการยุโรปถือเป็นฝ่ายบริหารของสหภาพยุโรป มีเจ้าหน้าที่ในกำกับกว่า 23,000 คนซึ่งจะถูกแบ่งออกเป็นหลายกองที่เรียกว่า "กองอำนวยการ" (directorates-general) แต่ละกองมีผู้อำนวยการ (director-general) เป็นหัวหน้ากอง ทุกกองมีที่ทำการอยู่ในกรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม

อ้างอิง

  1. EC.europa.eu
  2. "Institutions of the EU: The European Commission". Europa. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-06-23. สืบค้นเมื่อ 18 June 2007.
  3. europa.eu: "European Commission swears oath to respect the EU Treaties" 3 May 2010

แหล่งข้อมูลอื่น

  • European Commission European Commission welcome page – Retrieved 12 May 2016.
  • Documents of the European Commission are consultable at the Historical Archives of the EU in Florence.
  • European Commissions on CVCE website – Multimedia website with historical information on the European integration Studies. No such material is found on the page. This page contains a legal Notice and warning about copyrighted material. Last Access 18 April 2013.