ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตุ๊กแก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 32: บรรทัด 32:


==การจำแนก==
==การจำแนก==
ปัจจุบันพบแล้วกว่า 50 [[species|ชนิด]]<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=174049 จาก itis.gov {{en}}]</ref>
ปัจจุบันพบแล้วกว่า 50 [[species|ชนิด]]<ref>{{ITIS|id=174049|accessdate=July 7, 2011|taxon=''Gekko'' }}</ref>
*''[[Gekko albofasciolatus]]'' <small>Günther, 1867</small>
*''[[Gekko albofasciolatus]]'' <small>Günther, 1867</small>
*''[[Gekko athymus]]'' <small>W. Brown & Alcala, 1962</small>
*''[[Gekko athymus]]'' <small>W. Brown & Alcala, 1962</small>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:35, 18 สิงหาคม 2559

ตุ๊กแก
ตุ๊กแกบ้าน (G. gecko)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Reptilia
อันดับ: Squamata
อันดับย่อย: Lacertilia
วงศ์: Gekkonidae
วงศ์ย่อย: Gekkoninae
สกุล: Gekko
Laurenti, 1768
ชนิด
มากกว่า 50 ชนิด ดูในเนื้อหา

ตุ๊กแก (อังกฤษ: Geckos, Calling geckos, Tropical asian geckos, True geckos) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานสกุลหนึ่ง ในวงศ์ย่อย Gekkoninae ในวงศ์ใหญ่ Gekkonidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gekko (/เก็ก-โค/)

โดยสัตว์ที่อยู่ในสกุลนี้ จะอาศัยอยู่ในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ส่วนใหญ่มีสีสันและลวดลายบนลำตัว วางไข่ครั้งละ 2 - 7 ฟอง พบได้ทั้งในบ้านเรือนของมนุษย์และในป่าดิบ โดยปกติแล้วจะมีขนาดความยาวมากกว่า 10 เซนติเมตร มีรูปร่างที่แตกต่างกันหลากหลาย ส่วนใหญ่หากินบนต้นไม้และใต้นิ้วเท้ามีแผ่นหนังเรียงต่อกัน ที่มีเส้นขนจำนวนมาก ซึ่งแต่ละเส้นยาวประมาณ 60-90 ไมครอน ส่วนปลายของเส้นขนแตกแขนงและขยายออกเป็นตุ่ม เรียกว่า "เซต้า" ใช้สำหรับยึดเกาะติดกับผนังได้โดยใช้หลักสุญญากาศ โดยชนิดที่รู้จักกันดีที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ตุ๊กแกบ้าน (G. gekko) [1]

การจำแนก

ปัจจุบันพบแล้วกว่า 50 ชนิด[2]

อ้างอิง

  1. วีรยุทธ์ เลาหะจินดา. วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2549. 240 หน้า. หน้า 381. ISBN 978-616-556-016-0
  2. "Gekko". ระบบข้อมูลการจำแนกพันธุ์แบบบูรณาการ. สืบค้นเมื่อ July 7, 2011.

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Gekko ที่วิกิสปีชีส์