ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทะเลสาบไบคาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Alexander Lupin (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
}}
}}


'''ทะเลสาบไบคาล''' ([[อักษรโรมัน]]: Lake Baikal, [[อักษรซีริลลิก]]: о́зеро Байка́л) ตั้งอยู่บริเวณตอนใต้ของ[[ไซบีเรีย]] ประเทศ[[รัสเซีย]]เป็น[[ทะเลสาบ]]ที่ลึกที่สุดในโลก จุดที่ลึกที่สุดมีความลึกกว่า 1,640 เมตร ทะเลสาบไบคาลเกิดจากการที่น้ำเอ่อล้นเข้ามาจนเต็มรอย[[เปลือกโลก]]ที่แตกเมื่อ 25 ล้านปีที่แล้ว ทะเลสาบมีความยาวประมาณ 650 กิโลเมตร กว้างโดยเฉลี่ย 50 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 23,000 ตารางกิโลเมตร
'''ทะเลสาบไบคาล''' ([[อักษรโรมัน]]: Lake Baikal, [[อักษรซีริลลิก]]: о́зеро Байка́л) ตั้งอยู่บริเวณตอนใต้ของ[[ไซบีเรีย]] ประเทศ[[รัสเซีย]]เป็น[[ทะเลสาบ]]ที่ลึกที่สุดในโลก จุดที่ลึกที่สุดมีความลึกกว่า 1,640 เมตร ทะเลสาบไบคาลเกิดจากการที่น้ำเอ่อล้นเข้ามาจนเต็มรอย[[เปลือกโลก]]ที่แตกเมื่อ 25 ล้านปีที่แล้ว ทะเลสาบมีความยาวประมาณ 650 กิโลเมตร กว้างโดยเฉลี่ย 50 กิโลเมตร มีพื้นที่ 31,722 ตารางกิโลเมตร และมีปริมาตร 23,615 ลูกบาศก์กิโลเมตร


== มรดกโลก ==
== มรดกโลก ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:41, 12 สิงหาคม 2559

ทะเลสาบไบคาล *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
ประเทศไซบีเรีย  รัสเซีย
ประเภทมรดกโลกทางธรรมชาติ
เกณฑ์พิจารณา(vii) (viii) (ix) (x)
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2539 (คณะกรรมการสมัยที่ 20)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

ทะเลสาบไบคาล (อักษรโรมัน: Lake Baikal, อักษรซีริลลิก: о́зеро Байка́л) ตั้งอยู่บริเวณตอนใต้ของไซบีเรีย ประเทศรัสเซียเป็นทะเลสาบที่ลึกที่สุดในโลก จุดที่ลึกที่สุดมีความลึกกว่า 1,640 เมตร ทะเลสาบไบคาลเกิดจากการที่น้ำเอ่อล้นเข้ามาจนเต็มรอยเปลือกโลกที่แตกเมื่อ 25 ล้านปีที่แล้ว ทะเลสาบมีความยาวประมาณ 650 กิโลเมตร กว้างโดยเฉลี่ย 50 กิโลเมตร มีพื้นที่ 31,722 ตารางกิโลเมตร และมีปริมาตร 23,615 ลูกบาศก์กิโลเมตร

มรดกโลก

ทะเลสาบไบคาลได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 20 เมื่อปี พ.ศ. 2539 ที่เมืองเมรีดา ประเทศเม็กซิโก ด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังนี้

  1. เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดของการเป็นตัวแทนในวิวัฒนาการสำคัญต่างๆในอดีตของโลก เช่น ยุคสัตว์เลื้อยคลาน ยุคน้ำแข็ง ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาความหลากหลายทางธรรมชาติบนพื้นโลก
  2. เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดในการเป็นตัวแทนของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทาง ธรณีวิทยาหรือวิวัฒนาการทางชีววิทยา และปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่กำลังเกิดอยู่ เช่น ภูเขาไฟ เกษตรกรรมขั้นบันได
  3. เป็นแหล่งที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์หายากหรือสวยงามเป็นพิเศษ เช่น แม่น้ำ น้ำตก ภูเขา
  4. เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิดสัตว์และพันธุ์พืชที่หายากหรือที่ตกอยู่ในสภาวะ อันตราย แต่ยังคงสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งรวมถึงระบบนิเวศอันเป็นแหล่งรวมความอุดมสมบูรณ์ของพืชและสัตว์ที่ทั่ว โลกให้ความสนใจด้วย

แหล่งข้อมูลอื่น

พิกัดภูมิศาสตร์: 53°30′N 108°00′E / 53.5°N 108°E / 53.5; 108