ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่วอเตอร์ลู"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox Military Conflict
{{Infobox Military Conflict
| conflict = ยุทธการวอเตอร์ลู
| conflict = ยุทธการวอเตอร์ลู
| partof = [[สงครามสัมพันธมิตรครั้งที่เจ็ด]]<!-- War of the Seventh Coalition -->
| partof = [[สงครามสัมพันธมิตรครั้งที่เจ็ด]]
| image = [[ไฟล์:Wellington at Waterloo Hillingford.jpg|300px]]
| image = [[ไฟล์:Wellington at Waterloo Hillingford.jpg|310px]]
| caption = ภาพ ''เวลลิงตันที่วอเตอร์ลู''
| caption = ''Wellington at Waterloo'' ผลงานของ [[โรเบิร์ต อเล็กซานเดอร์ ฮิลลิงฟอร์ด]]
| date = [[18 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1815]]
| date = [[18 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1815]]
| place = [[วอเตอร์ลู, เบลเยียม|เมืองวอเตอร์ลู]] ทางใต้ของ[[กรุงบรัสเซลส์]] [[ประเทศเบลเยียม]]ปัจจุบัน
| place = [[วอเตอร์ลู, เบลเยียม|เมืองวอเตอร์ลู]] ทางใต้ของ[[กรุงบรัสเซลส์]] [[ประเทศเบลเยียม]]ปัจจุบัน
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
| result = พันธมิตรต่อต้านนโปเลียนที่เจ็ดได้ชัยชนะเด็ดขาด
| result = พันธมิตรต่อต้านนโปเลียนที่เจ็ดได้ชัยชนะเด็ดขาด
| combatant1 = {{flagicon|France}} [[จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1|จักรวรรดิฝรั่งเศส]]
| combatant1 = {{flagicon|France}} [[จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1|จักรวรรดิฝรั่งเศส]]
| combatant2 = '''[[สัมพันธมิตรครั้งที่ 7]]''':<br />{{flagicon|Prussia|1803}} [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]]<br />{{flagicon|UK}} [[สหราชอาณาจักร]]<br />[[ไฟล์:Prinsenvlag.svg|23px|สาธารณรัฐเนเธอร์แลนด์]] [[สาธารณรัฐดัตช์]]<br />{{flagicon|Hanover|1692}} [[ราชอาณาจักรฮาโนเวอร์]]<br />{{flagicon image|Flagge Herzogtum Nassau (1806-1866).svg}} [[แคว้นดยุคแห่งนัสเซา]]<br />{{flagicon image|Flagge Herzogtum Braunschweig.svg}} [[แคว้นดยุคแห่งบรันสวิก]]
| combatant2 = '''ฝ่ายสัมพันธมิตร''':<br />{{flagicon|Prussia|1803}} [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]]<br />{{flagicon|UK}} [[สหราชอาณาจักร]]<br />[[ไฟล์:Prinsenvlag.svg|23px|สาธารณรัฐเนเธอร์แลนด์]] [[สาธารณรัฐดัตช์]]<br />{{flagicon|Hanover|1692}} [[ราชอาณาจักรฮาโนเวอร์]]<br />{{flagicon image|Flagge Herzogtum Nassau (1806-1866).svg}} [[แคว้นดยุคแห่งนัสเซา]]<br />{{flagicon image|Flagge Herzogtum Braunschweig.svg}} [[แคว้นดยุคแห่งบรันสวิก]]
| commander1 = {{flagicon|France}} [[นโปเลียน โบนาปาร์ต]]<br /> {{flagicon|France}} [[มีแชล แน]]
| commander1 = {{flagicon|France}} [[นโปเลียน โบนาปาร์ต]]<br /> {{flagicon|France}} [[มีแชล แน]]
| commander2 = {{flagicon|UK}} [[อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน|ดยุกแห่งเวลลิงตัน]]<br />{{flagicon|Prussia|1803}} [[Gebhard Leberecht von Blücher|เกบฮาร์ด ฟอน บลือเชอร์]]
| commander2 = {{flagicon|UK}} [[อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน|ดยุกแห่งเวลลิงตัน]]<br />{{flagicon|Prussia|1803}} [[Gebhard Leberecht von Blücher|เกิบฮาร์ด ฟอน บลือเชอร์]]
| strength1 = 72,000<ref name=Hofschroer72-73>Hofschröer, pp. 72–73</ref>
| strength1 = 72,000<ref name=Hofschroer72-73>Hofschröer, pp. 72–73</ref>
| strength2 = อังกฤษ-พันธมิตร: 68,000<ref name=Hofschroer72-73/><br />ปรัสเซีย: 50,000<ref>Chesney, p. 4</ref>
| strength2 = อังกฤษ-พันธมิตร: 68,000<ref name=Hofschroer72-73/><br />ปรัสเซีย: 50,000<ref>Chesney, p. 4</ref>
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
| casualties2 = ตาย/บาดเจ็บ 22,000 คน<ref>Barbero, p. 419<br />กองทัพของเวลลิงตัน: ตาย 3,500 คน; บาดเจ็บ 10,200 คน; สูญหาย 3,300 คน<br />Blücher's army: ตาย 1,200 คน; บาดเจ็บ 4,400 คน; สูญหาย 1,400 คน</ref>
| casualties2 = ตาย/บาดเจ็บ 22,000 คน<ref>Barbero, p. 419<br />กองทัพของเวลลิงตัน: ตาย 3,500 คน; บาดเจ็บ 10,200 คน; สูญหาย 3,300 คน<br />Blücher's army: ตาย 1,200 คน; บาดเจ็บ 4,400 คน; สูญหาย 1,400 คน</ref>
}}
}}
'''ยุทธการที่วอเตอร์ลู''' เกิดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน 1815 ที่ [[วอเตอร์ลู|เมืองวอเตอร์ลู]] ซึ่งปัจจุบันอยู่ใน[[ประเทศเบลเยี่ยม]], ในขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของ [[สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์]]. กองทัพแห่ง[[First French Empire|ฝรั่งเศสยุคจักรพรรดิที่ 1]] ของ[[Emperor of the French|จักรพรรดินโปเลียน]] ได้ปราชัยแก่กองทัพ[[Seventh Coalition|พันธมิตรต่อต้านนโปเลียนที่ 7]], ภายใต้การนำทัพ แองโกลของ [[Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington|ดยุกแห่งเวลลิงตัน]] รวมกับกองทัพ[[ปรัสเซีย]] ของ[[เกบฮาร์ด เลเบอร์ไรช์ ฟอน บลือเชอร์|เกบฮาร์ด ฟอน บลือเชอร์]]ซึ่งเป็นการสู้รบที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของ[[เคมเปญวอเตอร์ลู]] ผลของการสู้รบทำให้นโปเลียนสิ้นสุดอำนาจการเป็นจักรพรรดิ หยุด[[สมัยร้อยวัน|การขึ้นสู่อำนาจ 100 วัน]] และนโปเลียนถูกเนรเทศไป[[เกาะเซนต์เฮเลนา]]
'''ยุทธการที่วอเตอร์ลู''' เกิดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน 1815 ที่ [[วอเตอร์ลู|เมืองวอเตอร์ลู]] ซึ่งปัจจุบันอยู่ใน[[ประเทศเบลเยี่ยม]], ในขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของ [[สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์]]. กองทัพแห่ง[[First French Empire|ฝรั่งเศสยุคจักรพรรดิที่ 1]] ของ[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 1]] ได้ปราชัยแก่กองทัพ[[สงครามสัมพันธมิตรครั้งที่เจ็ด|สัมพันธมิตรที่เจ็ด]], ภายใต้การนำทัพของ [[Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington|ดยุกแห่งเวลลิงตัน]] รวมกับกองทัพ[[ปรัสเซีย]] ของ[[เกิบฮาร์ด เลเบริชท์ ฟอน บลือเชอร์]] ซึ่งเป็นการสู้รบที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในเคมเปญที่วอเตอร์ลู ผลของการสู้รบทำให้นโปเลียนหมดอำนาจอย่างแท้จริง เป็นจุดสิ้นสุดของ[[สมัยร้อยวัน|รัชสมัยร้อยวัน]] และนโปเลียนถูกเนรเทศไป[[เกาะเซนต์เฮเลนา]]


การกลับสู่อำนาจของนโปเลียนในปี 1815 ทำให้รัฐต่างๆ ร่วมกันต่อต้านนโปเลียนเป็นครั้งที่ 7. กองทัพจำนวนมากของเวลเลสลีย์ และบลือเชอร์ได้ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส นโปเลียนวางแผนเข้าโจมตีเพื่อป้องกันไม่ให้กองทัพทั้งสอง เข้ารวมกับกองทัพของรัฐต่างๆ การตัดสินใจนี้เรียกว่าเคมเปญที่วอเตอร์ลู (16–19 มิถุนายน 1815) เวลลิงตันเคยกล่าวไว้ว่า สงครามนี้เป็น "the nearest-run thing you ever saw in your life" .<ref>[[q:Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington|Wikiquote:Wellington]] citing ''Creevey Papers'', ch. x, p. 236</ref>
การหวนคืนสู่แผ่นดินยุโรปของนโปเลียนในปี 1815 ทำให้รัฐต่างๆ รวมกันเป็น[[สงครามสัมพันธมิตรครั้งที่เจ็ด|สัมพันธมิตรที่เจ็ด]] กองทัพจำนวนมากของดยุกแห่งเวลลิงตันและบลือเชอร์ได้ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส นโปเลียนวางแผนเข้าโจมตีเพื่อป้องกันไม่ให้กองทัพทั้งสอง เข้ารวมกับกองทัพของรัฐต่างๆ การตัดสินใจนี้เรียกว่าเคมเปญที่วอเตอร์ลู (16–19 มิถุนายน 1815) เวลลิงตันเคยกล่าวไว้ว่า สงครามนี้เป็น "the nearest-run thing you ever saw in your life" .<ref>[[q:Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington|Wikiquote:Wellington]] citing ''Creevey Papers'', ch. x, p. 236</ref>


นโปเลียนได้ชะลอการโจมตีถึงตอนเที่ยงวันที่ 18 เพื่อให้พื้นแห้ง ในขณะที่กองทัพของเวลลิงตันได้ประจำตำแหน่งไปตามถนนที่เนินมงต์-แซงต์-ฌอง ตั้งรับการโจมตีของฝรั่งเศสจนถึงตอนเย็น กองทัพของบลือเชอร์ได้มาถึงและเข้าโจมตีทางขวาของกองทัพฝรั่งเศส ร่วมกับกองทัพของเวลลิงตันที่ได้เข้าโจมตีกองทัพฝรั่งเศสจนหมดสภาพในการรบ กองกำลังผสมได้เข้าสู่ประเทศฝรั่งเศสและคืนอำนาจแก่หลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส นโปเลียนถูกถอดจากอำนาจและถูกเนรเทศไปเกาะเซนต์เฮเลนา
นโปเลียนได้ชะลอการโจมตีถึงตอนเที่ยงวันที่ 18 เพื่อให้พื้นแห้ง ในขณะที่กองทัพของเวลลิงตันได้ประจำตำแหน่งไปตามถนนที่เนินมงต์-แซงต์-ฌอง ตั้งรับการโจมตีของฝรั่งเศสจนถึงตอนเย็น กองทัพของบลือเชอร์ได้มาถึงและเข้าโจมตีทางขวาของกองทัพฝรั่งเศส ร่วมกับกองทัพของดยุกแห่งเวลลิงตันที่ได้เข้าโจมตีกองทัพฝรั่งเศสจนหมดสภาพในการรบ กองกำลังผสมได้เข้าสู่ประเทศฝรั่งเศสและคืนอำนาจแก่หลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส นโปเลียนถูกถอดจากอำนาจและถูกเนรเทศไปเกาะเซนต์เฮเลนา


ปัจจุบันสมรภูมินี้อยู่ในประเทศเบลเยี่ยม ระยะทางประมาณ {{convert|8|mi|km}} จากทิศใต้ไปตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงบรัสเซล และ {{convert|1|mi|km}} จากเมืองวอเตอร์ลู ปัจจุบันมีรูปปั้นไลออนส์โมนด์ตั้งอยู่
ปัจจุบันสมรภูมินี้อยู่ในประเทศเบลเยี่ยม ระยะทางประมาณ {{convert|8|mi|km}} จากทิศใต้ไปตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงบรัสเซล และ {{convert|1|mi|km}} จากเมืองวอเตอร์ลู ปัจจุบันมีรูปปั้นไลออนส์โมนด์ตั้งอยู่
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
==ต้นเหตุ==
==ต้นเหตุ==
{{Main|สมัยร้อยวัน}}
{{Main|สมัยร้อยวัน}}
[[ไฟล์:Strategic Situation of Western Europe 1815.jpg|thumb|300px|สถานการที่ยุโรปตะวันตกปี 1815 : ทหารฝรั่งเศส 250,000 นาย ต่อสู้กับพันธมิตรต่อต้านนโปเลียน 850,000 นาย โดยนโปเลียนยังต้องแบ่งกำลัง 20,000 นายไว้ที่ฝรั่งเศสตะวันตกเพื่อป้องกันกลุ่ม[[รอยัลลิสต์]] ]]
[[ไฟล์:Strategic Situation of Western Europe 1815.jpg|left|thumb|250px|สถานการที่ยุโรปตะวันตกปี 1815 : ทหารฝรั่งเศส 250,000 นาย ต่อสู้กับพันธมิตรต่อต้านนโปเลียน 850,000 นาย โดยนโปเลียนยังต้องแบ่งกำลัง 20,000 นายไว้ที่ฝรั่งเศสตะวันตกเพื่อป้องกันกลุ่ม[[รอยัลลิสต์]] ]]
วันที่ 13 มีนาคม 1815, 6 วันก่อนนโปเลียนเดินทางถึงปารีส, [[สภาคอนเกรสแห่งเวียนนา]][[s:Declaration at the Congress of Vienna|ประกาศให้นโปเลียนเป็นคนนอกกฎหมาย]].<ref>[http://dl.lib.brown.edu/napoleon/time7.html Timeline: The Congress of Vienna, the Hundred Days, and Napoleon's Exile on St Helena], Center of Digital Initiatives, [[Brown University]] Library</ref> สี่วันต่อมา [[สหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์|สหราชอาณาจักร]], [[อาณาจักรรัสเซีย|รัสเซีย]], [[อาณาจักรออสเตีย|ออสเตรีย]], และ [[ปรัสเซีย]] ได้ยกกองทัพมาเพื่อกำจัดอำนาจของนโปเลียน<ref>{{Harvnb|Hamilton-Williams|1993|p=59}}</ref> นโปเลียนทราบว่า ถ้าเขาไม่สามารถป้องกันการโจมตีของมพันธมิตรต่อต้านนโปเลียนในการโจมตีฝรั่งเศสได้แล้ว เขาต้องโจมตีกองทัพของพันธมิตรก่อนที่จะยกทัพมา เพื่อรักษาอำนาจที่ตนมี ถ้าหากเขาสามารถโจมตีกองกำลังผสมที่อยู่ทางตอนใต้ของกรุงบรัสเซล ได้สำเร็จแล้ว อาจจะทำให้กองทัพอังกฤษถอยทัพออกไปยังเกาะบริเตน และทำให้กองทัพปรัสเซียพ่ายแพ้
วันที่ 13 มีนาคม 1815, 6 วันก่อนนโปเลียนเดินทางถึงปารีส [[การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา]] ได้ประกาศให้นโปเลียนเป็นคนนอกกฎหมาย<ref>[http://dl.lib.brown.edu/napoleon/time7.html Timeline: The Congress of Vienna, the Hundred Days, and Napoleon's Exile on St Helena], Center of Digital Initiatives, [[Brown University]] Library</ref> สี่วันต่อมา [[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์|สหราชอาณาจักร]], [[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]], [[จักรวรรดิออสเตรีย|ออสเตรีย]], และ [[ปรัสเซีย]] ได้ยกกองทัพมาเพื่อกำจัดอำนาจของนโปเลียน<ref>{{Harvnb|Hamilton-Williams|1993|p=59}}</ref> นโปเลียนทราบว่า ถ้าเขาไม่สามารถป้องกันการโจมตีของฝ่ายสัมพันธมิตรได้แล้ว เขาต้องโจมตีกองทัพสัมพันธมิตรก่อนที่จะยกทัพมาเพื่อรักษาอำนาจที่ตนมี ถ้าหากเขาสามารถโจมตีกองกำลังผสมที่อยู่ทางตอนใต้ของกรุงบรัสเซล ได้สำเร็จแล้ว อาจจะทำให้กองทัพอังกฤษถอยทัพออกไปยังเกาะบริเตน และทำให้กองทัพปรัสเซียพ่ายแพ้


เหตุผลอีกประการหนึ่งคือในเขตนั้นมีกลุ่มผู้สนับสนุนที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสอยู่ (Francophone) ชัยชนะอาจทำให้เกิดการเข้าร่วมกับกองทัพฝรั่งเศส อีกประการหนึ่ง กองทัพอังกฤษที่นั่นเป็นทหารใหม่ กองทัพจำนวนมากที่เคยรบ[[สงครามคาบสมุทรสเปน]]ได้ถูกส่งไปประจำการที่อเมริกาใน[[สงครามปี 1812]]<ref>{{Harvnb|Chandler|1966|pp=1016, 1017, 1093}}</ref>
เหตุผลอีกประการหนึ่งคือในเขตนั้นมีกลุ่มผู้สนับสนุนที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสอยู่ (Francophone) ชัยชนะอาจทำให้เกิดการเข้าร่วมกับกองทัพฝรั่งเศส อีกประการหนึ่ง กองทัพอังกฤษที่นั่นเป็นทหารใหม่ กองทัพจำนวนมากที่เคยรบ[[สงครามคาบสมุทร]]ได้ถูกส่งไปประจำการที่อเมริกาใน[[สงคราม ค.ศ. 1812|สงครามปี 1812]]<ref>{{Harvnb|Chandler|1966|pp=1016, 1017, 1093}}</ref>การยกพลกองทัพไปผ่าน[[มงส์]]ไปยังบรัสเซลส์ มีจุดประสงค์เพื่อตั้งรับการโจมตีนของนโปเลียน <ref>{{Harvnb|Siborne<!--W-->|1990|p=82}}.</ref> การทำเช่นนี้ทำให้เวลลินตันไม่สามารถติต่อกับฐานบัญชาการที่[[ออสเตนด์]] แต่กองทัพของเขาจะใกล้กับบลือเชอร์มาก ฝั่งซ้ายของกองทัพควบคุมโดย[[มีแชล แน]] ฝั่งขวาควบคุมโดย[[เอ็มมานูเอล, มาร์กีสแห่งกรูชี|มาร์เชลกรูชี]] กองทัพฝรั่งเศสได้เข้าโจมตีป้อมของกลุ่มพัทธมิตร ในช่วงรุ่งอรุณของวันที่ 15 มิถุนายน ที่[[ชาร์เลอรัว]]
[[ไฟล์:Waterloo Campaign map-alt3.svg|thumb|300px|left|แผนที่แสดงยุทธการที่วอเตอร์ลู]]
การยกพลกองทัพไปผ่าน[[มองส์]]ไปยังบรัสเซลส์ มีจุดประสงค์เพื่อตั้งรับการโจมตีนของนโปเลียน <ref>{{Harvnb|Siborne<!--W-->|1990|p=82}}.</ref> การทำเช่นนี้ทำให้เวลลินตันไม่สามารถติต่อกับฐานบัญชาการที่[[ออสเตนด์]] แต่กองทัพของเขาจะใกล้กับบลือเชอร์มาก ฝั่งซ้ายของกองทัพควบคุมโดย[[Michel Ney|มิเชล เนย์]] ฝั่งขวาควบคุมโดย[[เอ็มมานูเอล, มาร์กีสแห่งกรูชี|มาร์เชลกรูชี]] กองทัพฝรั่งเศสได้เข้าโจมตีป้อมของกลุ่มพัทธมิตร ในช่วงรุ่งอรุณของวันที่ 15 มิถุนายน ที่[[ชาร์เลอรัว]]


==สมรภูมิ==
==สมรภูมิ==
[[ไฟล์:Waterloo Campaign map-alt3.svg|thumb|300px|แผนที่แสดงยุทธการที่วอเตอร์ลู]]
สมรภูมิวอเตอร์ลูมีแนวสันเขาตามทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก มีถนนไปบรัสเซล์ตัดผ่านตรงกลางในแนวตั้งฉาก ทางยอดเขามีถนน[[Ohain, Belgium|โออัง]]และหุบเหวตื้น ที่จุดตัดของถนนไปบรัสเซล์มีต้นเอม ซึ่งเวลลิงตันได้ควบคุมการรบที่นั่น โดยใช้การรบบนเนินเขา<ref>{{Harvnb|Barbero|2005|pp=78,79}}.</ref>ความยาวของกองทัพนั้นประมาณ {{convert|2.5|mi|km}} เวลลิงตันจึงสามารถนำกองทัพของเขารุกขึ้นมาได้ ซึ่งเขาทำในช่วงตอนกลางและฝั่งขวาไปยังหมู่บ้าน[[แบรน์-ลาลเลอด]]โดยหวังใช้กองทัพปรัสเซียมาถึงให้ทันเวลา<ref>{{Harvnb|Barbero|2005|p=80}}.</ref>
สมรภูมิวอเตอร์ลูมีแนวสันเขาตามทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก มีถนนไปบรัสเซล์ตัดผ่านตรงกลางในแนวตั้งฉาก ทางยอดเขามีถนน[[Ohain, Belgium|โออัง]]และหุบเหวตื้น ที่จุดตัดของถนนไปบรัสเซล์มีต้นเอม ซึ่งเวลลิงตันได้ควบคุมการรบที่นั่น โดยใช้การรบบนเนินเขา<ref>{{Harvnb|Barbero|2005|pp=78,79}}.</ref>ความยาวของกองทัพนั้นประมาณ {{convert|2.5|mi|km}} เวลลิงตันจึงสามารถนำกองทัพของเขารุกขึ้นมาได้ ซึ่งเขาทำในช่วงตอนกลางและฝั่งขวาไปยังหมู่บ้าน[[แบรน์-ลาลเลอด]]โดยหวังใช้กองทัพปรัสเซียมาถึงให้ทันเวลา<ref>{{Harvnb|Barbero|2005|p=80}}.</ref>
ด้านหน้าสันเขามีจุดสำตัญที่สามารถใช้ป้องกันการโจมตีได้ ฝั่งขวาสุดมีชาโต สวน และสวมผลไม้ที่[[อูโกมองต์]]มีบ้านที่ซ่อนอยู่ท่ามกลางต้นไม้ซึ่งหันไปทางทิศเหนือ ตามแนวร่องเหว ฝั่งซ้ายสุดมีหมู่บ้านเล็กๆ ชื่อปาปล็อต(Papelotte) ซึ่งอูโกมองต์และปาปล็อตได้มีทหารประจำการ ซึ่งทำให้การโจมตีตามแนวขอบใช้ไม่ได้ และปาปล็อตยังยึดถนนไปวาเวรอ ซึ่งทหารปรัสเซียใช้เดินทางมา ทิศตะวันตกของถนนไปบรัสเซล์มีฟาร์มชื่อว่า[[ลาแอย์แซงต์]]มีทหารเบาแห่ง[[กองทหารแห่งกษัตริย์เยอรมัน]] 400 นายประจำการอยู่.<ref>{{Harvnb|Barbero|2005|p=149}}.</ref> ด้านตรงข้ามของถนนมีเหมืองทราย ที่[[หน่วยไรเฟิลที่ 95]]ประจำการเป็นพลแม่นปืน<ref>{{Harvnb|Parry|1900|p=58}}.</ref>
ด้านหน้าสันเขามีจุดสำตัญที่สามารถใช้ป้องกันการโจมตีได้ ฝั่งขวาสุดมีชาโต สวน และสวมผลไม้ที่[[อูโกมองต์]]มีบ้านที่ซ่อนอยู่ท่ามกลางต้นไม้ซึ่งหันไปทางทิศเหนือ ตามแนวร่องเหว ฝั่งซ้ายสุดมีหมู่บ้านเล็กๆ ชื่อปาปล็อต(Papelotte) ซึ่งอูโกมองต์และปาปล็อตได้มีทหารประจำการ ซึ่งทำให้การโจมตีตามแนวขอบใช้ไม่ได้ และปาปล็อตยังยึดถนนไปวาเวรอ ซึ่งทหารปรัสเซียใช้เดินทางมา ทิศตะวันตกของถนนไปบรัสเซล์มีฟาร์มชื่อว่า[[ลาแอย์แซงต์]]มีทหารเบาแห่ง[[กองทหารแห่งกษัตริย์เยอรมัน]] 400 นายประจำการอยู่.<ref>{{Harvnb|Barbero|2005|p=149}}.</ref> ด้านตรงข้ามของถนนมีเหมืองทราย ที่[[หน่วยไรเฟิลที่ 95]]ประจำการเป็นพลแม่นปืน<ref>{{Harvnb|Parry|1900|p=58}}.</ref>
ตำแหน่งของกองทัพเช่นนี้เป็นสิ่งที่ลำบากใจในการโจมตี การโจมตีต้องโจมตีที่อูโกมง ถ้าโจมตีตรงกลางจะถูงยิงทั้งสองด้าน คือทางอูโกมงและลาแอย์แซงต์ ฝั่งซ้ายจะถูกโจมตีที่ลาแอย์แซงต์ และเมืองปาปล็อต <ref>{{Harvnb|Barbero|2005|pp=141,235}}.</ref>
ตำแหน่งของกองทัพเช่นนี้เป็นสิ่งที่ลำบากใจในการโจมตี การโจมตีต้องโจมตีที่อูโกมง ถ้าโจมตีตรงกลางจะถูงยิงทั้งสองด้าน คือทางอูโกมงและลาแอย์แซงต์ ฝั่งซ้ายจะถูกโจมตีที่ลาแอย์แซงต์ และเมืองปาปล็อต <ref>{{Harvnb|Barbero|2005|pp=141,235}}.</ref>
กองทัพฝรั่งเศสอยู่ทางใต้ของสันเขา นโปเลียนไม่เห็นตำแหน่งของเวลลิงตัน จึงเดินทัพไปทางถนนบรัสเซล ปีกขวามีกองที่ 1 นำทัพโดย[[ฌอง บัปติสท์ ดรูเอต,กงต์แห่งเดอลง|เดอลง]]มีทหารราบ 1,600 นาย ทหารม้า 1,500 นาย และสำรองอีก 4,700 ปีกซ้ายนำโดย[[เอเนอเร่ ชารลส์ รายยี|รายยี]] มีทหารราบ 1,300 นาย ทหารม้า 1,300 นายและสำรองอีก 4,600 นาย ตรงกลางถนนไปยัง[[ลา แบล อาลายยัง]]มีกำลังเสริมของโลโบ ประกอบด้วยทหารราบ 6,000 [[ทหารรักษาพระองค์]] 1,300 นาย และทหารท้าอีก 1,200 นาย<ref>{{Harvnb|Barbero|2005|pp=83–85}}.</ref> In the right rear of the French position was the substantial village of [[Plancenoit]], and at the extreme right, the ''Bois de Paris'' wood. Napoleon initially commanded the battle from Rossomme farm, where he could see the entire battlefield, but moved to a position near ''La Belle Alliance'' early in the afternoon. Command on the battlefield (which was largely hidden from his view) was delegated to Ney.<ref>{{Harvnb|Barbero|2005|p=91}}.</ref>
กองทัพฝรั่งเศสอยู่ทางใต้ของสันเขา นโปเลียนไม่เห็นตำแหน่งของเวลลิงตัน จึงเดินทัพไปทางถนนบรัสเซล ปีกขวามีกองที่ 1 นำทัพโดย[[ฌอง บัปติสท์ ดรูเอต,กงต์แห่งเดอลง|เดอลง]]มีทหารราบ 1,600 นาย ทหารม้า 1,500 นาย และสำรองอีก 4,700 ปีกซ้ายนำโดย[[เอเนอเร่ ชารลส์ รายยี|รายยี]] มีทหารราบ 1,300 นาย ทหารม้า 1,300 นายและสำรองอีก 4,600 นาย ตรงกลางถนนไปยัง[[ลา แบล อาลายยัง]]มีกำลังเสริมของโลโบ ประกอบด้วยทหารราบ 6,000 [[ทหารรักษาพระองค์]] 1,300 นาย และทหารท้าอีก 1,200 นาย<ref>{{Harvnb|Barbero|2005|pp=83–85}}.</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:10, 31 กรกฎาคม 2559

ยุทธการวอเตอร์ลู
ส่วนหนึ่งของ สงครามสัมพันธมิตรครั้งที่เจ็ด

ภาพ เวลลิงตันที่วอเตอร์ลู
วันที่18 มิถุนายน ค.ศ. 1815
สถานที่50°41′N 4°24′E / 50.683°N 4.400°E / 50.683; 4.400พิกัดภูมิศาสตร์: 50°41′N 4°24′E / 50.683°N 4.400°E / 50.683; 4.400
ผล พันธมิตรต่อต้านนโปเลียนที่เจ็ดได้ชัยชนะเด็ดขาด
คู่สงคราม
ฝรั่งเศส จักรวรรดิฝรั่งเศส ฝ่ายสัมพันธมิตร:
ราชอาณาจักรปรัสเซีย ราชอาณาจักรปรัสเซีย
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร
สาธารณรัฐเนเธอร์แลนด์ สาธารณรัฐดัตช์
จังหวัดฮันโนเฟอร์ ราชอาณาจักรฮาโนเวอร์
แคว้นดยุคแห่งนัสเซา
แคว้นดยุคแห่งบรันสวิก
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
ฝรั่งเศส นโปเลียน โบนาปาร์ต
ฝรั่งเศส มีแชล แน
สหราชอาณาจักร ดยุกแห่งเวลลิงตัน
ราชอาณาจักรปรัสเซีย เกิบฮาร์ด ฟอน บลือเชอร์
กำลัง
72,000[1] อังกฤษ-พันธมิตร: 68,000[1]
ปรัสเซีย: 50,000[2]
ความสูญเสีย
ตาย/บาดเจ็บ 25,000 คน
ตกเป็นเชลย 7,000 คน
สูญหาย 15,000[3]
ตาย/บาดเจ็บ 22,000 คน[4]

ยุทธการที่วอเตอร์ลู เกิดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน 1815 ที่ เมืองวอเตอร์ลู ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศเบลเยี่ยม, ในขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของ สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์. กองทัพแห่งฝรั่งเศสยุคจักรพรรดิที่ 1 ของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ได้ปราชัยแก่กองทัพสัมพันธมิตรที่เจ็ด, ภายใต้การนำทัพของ ดยุกแห่งเวลลิงตัน รวมกับกองทัพปรัสเซีย ของเกิบฮาร์ด เลเบริชท์ ฟอน บลือเชอร์ ซึ่งเป็นการสู้รบที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในเคมเปญที่วอเตอร์ลู ผลของการสู้รบทำให้นโปเลียนหมดอำนาจอย่างแท้จริง เป็นจุดสิ้นสุดของรัชสมัยร้อยวัน และนโปเลียนถูกเนรเทศไปเกาะเซนต์เฮเลนา

การหวนคืนสู่แผ่นดินยุโรปของนโปเลียนในปี 1815 ทำให้รัฐต่างๆ รวมกันเป็นสัมพันธมิตรที่เจ็ด กองทัพจำนวนมากของดยุกแห่งเวลลิงตันและบลือเชอร์ได้ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส นโปเลียนวางแผนเข้าโจมตีเพื่อป้องกันไม่ให้กองทัพทั้งสอง เข้ารวมกับกองทัพของรัฐต่างๆ การตัดสินใจนี้เรียกว่าเคมเปญที่วอเตอร์ลู (16–19 มิถุนายน 1815) เวลลิงตันเคยกล่าวไว้ว่า สงครามนี้เป็น "the nearest-run thing you ever saw in your life" .[5]

นโปเลียนได้ชะลอการโจมตีถึงตอนเที่ยงวันที่ 18 เพื่อให้พื้นแห้ง ในขณะที่กองทัพของเวลลิงตันได้ประจำตำแหน่งไปตามถนนที่เนินมงต์-แซงต์-ฌอง ตั้งรับการโจมตีของฝรั่งเศสจนถึงตอนเย็น กองทัพของบลือเชอร์ได้มาถึงและเข้าโจมตีทางขวาของกองทัพฝรั่งเศส ร่วมกับกองทัพของดยุกแห่งเวลลิงตันที่ได้เข้าโจมตีกองทัพฝรั่งเศสจนหมดสภาพในการรบ กองกำลังผสมได้เข้าสู่ประเทศฝรั่งเศสและคืนอำนาจแก่หลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส นโปเลียนถูกถอดจากอำนาจและถูกเนรเทศไปเกาะเซนต์เฮเลนา

ปัจจุบันสมรภูมินี้อยู่ในประเทศเบลเยี่ยม ระยะทางประมาณ 8 ไมล์ (13 กิโลเมตร) จากทิศใต้ไปตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงบรัสเซล และ 1 ไมล์ (1.6 กิโลเมตร) จากเมืองวอเตอร์ลู ปัจจุบันมีรูปปั้นไลออนส์โมนด์ตั้งอยู่

ต้นเหตุ

สถานการที่ยุโรปตะวันตกปี 1815 : ทหารฝรั่งเศส 250,000 นาย ต่อสู้กับพันธมิตรต่อต้านนโปเลียน 850,000 นาย โดยนโปเลียนยังต้องแบ่งกำลัง 20,000 นายไว้ที่ฝรั่งเศสตะวันตกเพื่อป้องกันกลุ่มรอยัลลิสต์

วันที่ 13 มีนาคม 1815, 6 วันก่อนนโปเลียนเดินทางถึงปารีส การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา ได้ประกาศให้นโปเลียนเป็นคนนอกกฎหมาย[6] สี่วันต่อมา สหราชอาณาจักร, รัสเซีย, ออสเตรีย, และ ปรัสเซีย ได้ยกกองทัพมาเพื่อกำจัดอำนาจของนโปเลียน[7] นโปเลียนทราบว่า ถ้าเขาไม่สามารถป้องกันการโจมตีของฝ่ายสัมพันธมิตรได้แล้ว เขาต้องโจมตีกองทัพสัมพันธมิตรก่อนที่จะยกทัพมาเพื่อรักษาอำนาจที่ตนมี ถ้าหากเขาสามารถโจมตีกองกำลังผสมที่อยู่ทางตอนใต้ของกรุงบรัสเซล ได้สำเร็จแล้ว อาจจะทำให้กองทัพอังกฤษถอยทัพออกไปยังเกาะบริเตน และทำให้กองทัพปรัสเซียพ่ายแพ้

เหตุผลอีกประการหนึ่งคือในเขตนั้นมีกลุ่มผู้สนับสนุนที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสอยู่ (Francophone) ชัยชนะอาจทำให้เกิดการเข้าร่วมกับกองทัพฝรั่งเศส อีกประการหนึ่ง กองทัพอังกฤษที่นั่นเป็นทหารใหม่ กองทัพจำนวนมากที่เคยรบสงครามคาบสมุทรได้ถูกส่งไปประจำการที่อเมริกาในสงครามปี 1812[8]การยกพลกองทัพไปผ่านมงส์ไปยังบรัสเซลส์ มีจุดประสงค์เพื่อตั้งรับการโจมตีนของนโปเลียน [9] การทำเช่นนี้ทำให้เวลลินตันไม่สามารถติต่อกับฐานบัญชาการที่ออสเตนด์ แต่กองทัพของเขาจะใกล้กับบลือเชอร์มาก ฝั่งซ้ายของกองทัพควบคุมโดยมีแชล แน ฝั่งขวาควบคุมโดยมาร์เชลกรูชี กองทัพฝรั่งเศสได้เข้าโจมตีป้อมของกลุ่มพัทธมิตร ในช่วงรุ่งอรุณของวันที่ 15 มิถุนายน ที่ชาร์เลอรัว

สมรภูมิ

แผนที่แสดงยุทธการที่วอเตอร์ลู

สมรภูมิวอเตอร์ลูมีแนวสันเขาตามทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก มีถนนไปบรัสเซล์ตัดผ่านตรงกลางในแนวตั้งฉาก ทางยอดเขามีถนนโออังและหุบเหวตื้น ที่จุดตัดของถนนไปบรัสเซล์มีต้นเอม ซึ่งเวลลิงตันได้ควบคุมการรบที่นั่น โดยใช้การรบบนเนินเขา[10]ความยาวของกองทัพนั้นประมาณ 2.5 ไมล์ (4.0 กิโลเมตร) เวลลิงตันจึงสามารถนำกองทัพของเขารุกขึ้นมาได้ ซึ่งเขาทำในช่วงตอนกลางและฝั่งขวาไปยังหมู่บ้านแบรน์-ลาลเลอดโดยหวังใช้กองทัพปรัสเซียมาถึงให้ทันเวลา[11] ด้านหน้าสันเขามีจุดสำตัญที่สามารถใช้ป้องกันการโจมตีได้ ฝั่งขวาสุดมีชาโต สวน และสวมผลไม้ที่อูโกมองต์มีบ้านที่ซ่อนอยู่ท่ามกลางต้นไม้ซึ่งหันไปทางทิศเหนือ ตามแนวร่องเหว ฝั่งซ้ายสุดมีหมู่บ้านเล็กๆ ชื่อปาปล็อต(Papelotte) ซึ่งอูโกมองต์และปาปล็อตได้มีทหารประจำการ ซึ่งทำให้การโจมตีตามแนวขอบใช้ไม่ได้ และปาปล็อตยังยึดถนนไปวาเวรอ ซึ่งทหารปรัสเซียใช้เดินทางมา ทิศตะวันตกของถนนไปบรัสเซล์มีฟาร์มชื่อว่าลาแอย์แซงต์มีทหารเบาแห่งกองทหารแห่งกษัตริย์เยอรมัน 400 นายประจำการอยู่.[12] ด้านตรงข้ามของถนนมีเหมืองทราย ที่หน่วยไรเฟิลที่ 95ประจำการเป็นพลแม่นปืน[13] ตำแหน่งของกองทัพเช่นนี้เป็นสิ่งที่ลำบากใจในการโจมตี การโจมตีต้องโจมตีที่อูโกมง ถ้าโจมตีตรงกลางจะถูงยิงทั้งสองด้าน คือทางอูโกมงและลาแอย์แซงต์ ฝั่งซ้ายจะถูกโจมตีที่ลาแอย์แซงต์ และเมืองปาปล็อต [14] กองทัพฝรั่งเศสอยู่ทางใต้ของสันเขา นโปเลียนไม่เห็นตำแหน่งของเวลลิงตัน จึงเดินทัพไปทางถนนบรัสเซล ปีกขวามีกองที่ 1 นำทัพโดยเดอลงมีทหารราบ 1,600 นาย ทหารม้า 1,500 นาย และสำรองอีก 4,700 ปีกซ้ายนำโดยรายยี มีทหารราบ 1,300 นาย ทหารม้า 1,300 นายและสำรองอีก 4,600 นาย ตรงกลางถนนไปยังลา แบล อาลายยังมีกำลังเสริมของโลโบ ประกอบด้วยทหารราบ 6,000 ทหารรักษาพระองค์ 1,300 นาย และทหารท้าอีก 1,200 นาย[15]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Hofschröer, pp. 72–73
  2. Chesney, p. 4
  3. Barbero, p. 420
  4. Barbero, p. 419
    กองทัพของเวลลิงตัน: ตาย 3,500 คน; บาดเจ็บ 10,200 คน; สูญหาย 3,300 คน
    Blücher's army: ตาย 1,200 คน; บาดเจ็บ 4,400 คน; สูญหาย 1,400 คน
  5. Wikiquote:Wellington citing Creevey Papers, ch. x, p. 236
  6. Timeline: The Congress of Vienna, the Hundred Days, and Napoleon's Exile on St Helena, Center of Digital Initiatives, Brown University Library
  7. Hamilton-Williams 1993, p. 59
  8. Chandler 1966, pp. 1016, 1017, 1093
  9. Siborne 1990, p. 82.
  10. Barbero 2005, pp. 78, 79.
  11. Barbero 2005, p. 80.
  12. Barbero 2005, p. 149.
  13. Parry 1900, p. 58.
  14. Barbero 2005, pp. 141, 235.
  15. Barbero 2005, pp. 83–85.