ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฮโปทาลามัส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ภาพ Illu_diencephalon_.jpg ด้วย Illu_diencephalon.jpg จากวิกิพีเดียคอมมอนส์
Tridtapha pear (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
ไฮโปทาลามัสทำหน้าที่ควบคุม[[อุณหภูมิ]]ร่างกาย, [[ความหิว]], ความกระหายน้ำ<ref>http://www.cancer.gov/Templates/db_alpha.aspx?CdrID=46359</ref>, ความเหนื่อยล้า, ความโกรธ และ[[จังหวะรอบวัน]] (Circadian rhythm)
ไฮโปทาลามัสทำหน้าที่ควบคุม[[อุณหภูมิ]]ร่างกาย, [[ความหิว]], ความกระหายน้ำ<ref>http://www.cancer.gov/Templates/db_alpha.aspx?CdrID=46359</ref>, ความเหนื่อยล้า, ความโกรธ และ[[จังหวะรอบวัน]] (Circadian rhythm)


ไฮโปทาลทมัสเป็นศูนย์ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย การเต้นของหัวใจ ความดันเลือด ความหิว การนอนหลับ การหลั่งฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อ การหลั่งน้ำย่อยจากกระเพาะอาหา ความสมดุลของน้ำในร่างกายและการแสดงออกทางอารมณ์ความรู้สิก
== ภาพอื่นๆ ==
<gallery>ภาพ:Gray654.png|ภาพตัดแยกซ้ายขวาของสมองเอ็มบริโอมนุษย์ อายุ 3 เดือน</gallery>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:38, 22 กรกฎาคม 2559

ไฮโปทาลามัส
(Hypothalamus)
ตำแหน่งของไฮโปทาลามัสของมนุษย์
ไอเอนเซฟาลอน (Dienchephalon)
รายละเอียด
ตัวระบุ
ภาษาละตินhypothalamus
MeSHD007031
นิวโรเล็กซ์ IDbirnlex_734
TA98A14.1.08.401
A14.1.08.901
TA25714
FMA62008
ศัพท์ทางกายวิภาคของประสาทกายวิภาคศาสตร์

ไฮโปทาลามัส (อังกฤษ: hypothalamus) มาจากภาษากรีก ὑποθαλαμος แปลว่า ใต้ทาลามัส เป็นโครงสร้างของสมองที่อยู่ใต้ทาลามัส (thalamus) แต่เหนือก้านสมอง (brain stem) ทำหน้าที่เชื่อมโยงการทำงานของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ โครงสร้างนี้เป็นโครงสร้างหลักที่อยู่ด้านล่างของไดเอนเซฟาลอน (diencephalon) พบในสมองของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทุกชนิด ในมนุษย์มีขนาดประมาณเมล็ดอัลมอนด์

ไฮโปทาลามัสทำหน้าที่ควบคุมกระบวนการเมแทบอลิซึมบางอย่าง และหน้าที่อื่นๆ ของระบบประสาทอิสระ (Autonomic Nervous System) ไฮโปทาลามัสทำหน้าที่สังเคราะห์และหลั่งฮอร์โมนประสาท (neurohormones) ซึ่งมักเรียกว่า hypothalamic-releasing hormones ซึ่งทำหน้าที่ในการกระตุ้นหรือยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง (pituitary gland)

ไฮโปทาลามัสทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย, ความหิว, ความกระหายน้ำ[1], ความเหนื่อยล้า, ความโกรธ และจังหวะรอบวัน (Circadian rhythm)

ไฮโปทาลทมัสเป็นศูนย์ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย การเต้นของหัวใจ ความดันเลือด ความหิว การนอนหลับ การหลั่งฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อ การหลั่งน้ำย่อยจากกระเพาะอาหา ความสมดุลของน้ำในร่างกายและการแสดงออกทางอารมณ์ความรู้สิก

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น