ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิหมิงอิงจง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Keela57602 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
YURi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Infobox royalty
{{Infobox royalty
|title = จักรพรรดิจีน
|name=จักรพรรดิอิงจงแห่งราชวงศ์หมิง <br> Emperor Yingzong of Ming
|image=明英宗皇帝.jpg
|succession = จักรพรรดิแห่ง [[ราชวงศ์หมิง]] พระองค์ที่ 6
|image_size=250px
|reign = [[7 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 1978]] - [[1 กันยายน]] [[พ.ศ. 1992]] ({{อายุปีและวัน|1978|2|7|1992|9|1}})
|full name=[[Chinese surname|แซ่]]: จู (朱)<br />[[Chinese given name|ชื่อ]]: ฉีเจิ้น (祁鎮)
|predecessor = [[จักรพรรดิซวนเต๋อ]]
|succession= [[List of emperors of the Ming dynasty|รัชกาลที่ 6]] แห่ง[[ราชวงศ์หมิง]]
|successor = [[จักรพรรดิจิ่งไท่]]
|reign={{Nowrap|7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1435 – 1 กันยายน ค.ศ. 1449}}<ref>พระองค์ถูก[[มองโกล]]จับเป็นเชลย พระอนุชาขึ้นครองราชย์แทน ใช้พระนามว่า [[จักรพรรดิจิ่งไท่|จิ่งไท่]] (景泰) แล้วตั้งให้พระองค์เป็น[[ไท่ช่างหฺวัง|พระเจ้าหลวง]] (太上皇) จนถึง ค.ศ. 1457</ref>
|succession2 = จักรพรรดิสละราชบัลลังก์
|predecessor=[[จักรพรรดิเซฺวียนเต๋อ|เซฺวียนเต๋อ]]
|reign2 = [[1 กันยายน]] [[พ.ศ. 1992]] - [[11 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2000]] ({{อายุปีและวัน|1992|9|1|2000|2|11}})
|successor=[[จักรพรรดิจิ่งไท่|จิ่งไท่]]
|succession3 = จักรพรรดิแห่ง [[ราชวงศ์หมิง]] พระองค์ที่ 8
|era dates=เจิ้งถง (正統): 18 มกราคม ค.ศ. 1436 – 13 มกราคม ค.ศ. 1450<br /> เทียนชุ่น (天順): 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1457 – 26 มกราคม ค.ศ. 1465
|reign3 = [[11 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2000]] - [[23 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2007]] ({{อายุปีและวัน|2000|2|11|2007|2|23}})
|succession2= [[List of emperors of the Ming dynasty|รัชกาลที่ 8]] แห่ง[[ราชวงศ์หมิง]]
|era dates = '''เจิ้งถ่ง''' (Zhengtong , 1978 - 1992) <br> '''เทียนซุ่น''' (Tianshun , 2000 - 2007)
|reign2={{Nowrap|11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1457 – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1464}}
|temple name = '''หมิงอิงจง''' (Ming Yingzong)
|predecessor2=[[จักรพรรดิจิ่งไท่|จิ่งไท่]]
|full name = [[ราชสกุล]] : [[จู]] <br> นามพระราชทาน : ฉีเจิน
|father = [[จักรพรรดิเซฺวียนเต๋อ]]
|successor2=[[จักรพรรดิเฉิงฮว่า|เฉิงฮว่า]]
|succession1=[[Taishang Huang|พระเจ้าหลวง]]
|birth_date = [[29 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 1970]]
|reign1={{Nowrap|1 กันยายน ค.ศ. 1449 – 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1457}}
|birth_place = [[พระราชวังต้องห้าม]] , [[ปักกิ่ง]]
|reign1-type=Tenure
|death_date = [[23 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2007]] ({{อายุปีและวัน|1970|11|29|2007|2|23}})
|spouse=[[จักรพรรดินีเฉียน|เฉียน]]<br />Empress Xiaosu
|death_place = [[พระราชวังต้องห้าม]] , [[ปักกิ่ง]]
|issue=Princess Chongqing<br>[[Chenghua Emperor|Zhu Jianshen, Chenghua Emperor]]<br>Zhu Jianlin, Prince Zhuang of De<br>Zhu Jianshi<br>Zhu Jianchun, Prince Dao of Xu<br>Zhu Jianshu, Prince Huai of Xiu<br>Zhu Jianze, Prince Jian of Chong<br>Zhu Jianjun, Prince Jian of Ji<br>Zhu Jianzhi, Prince Mu of Xin<br>Zhu Jianpei, Prince Zhuang of Hui<br>Princess Jiashan<br>Princess Chun'an<br>Princess Chongde<br>Princess Guangde<br>Princess Yixing<br>Princess Longqing<br>Princess Jiaxiang<br>two unnamed daughters
|burial_place = ยู่หลิง , [[พระราชสุสานราชวงศ์หมิง]]
|temple name= หมิงอิงจง (明英宗)
|posthumous name=พระเจ้า Fatian Lidao Renming Chengjing Zhaowen Xianwu Zhide Guangxiao Rui <br> 法天立道仁明誠敬昭文憲武至德廣孝睿皇帝
|house=[[ราชวงศ์หมิง]] [[House of Zhu|ตระกูลจู]]
|father=[[จักรพรรดิเซฺวียนเต๋อ|เซฺวียนเต๋อ]]
|mother=[[จักรพรรดินีซุน|ซุน]]
|birth_date={{Birth date|1427|11|29|df=y}}
|death_date={{Death date and age|1464|2|23|1427|11|29|df=y}}
|place of burial=Yuling, [[Ming tombs]], [[Beijing]]
}}
}}


'''จู ฉีเจิ้น''' ({{zh|t=朱祁鎮|p=Zhū Qízhèn}}; 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1427 – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1464) เป็น[[จักรพรรดิจีน]]แห่ง[[ราชวงศ์หมิง]] เสวยราชย์ 2 ครั้ง ครั้งแรกระหว่าง ค.ศ. 1435–49 ใช้พระนามว่า '''เจิ้งถ่ง''' ({{zh|t=正統|p=Zhèngtǒng}}) แปลว่า "ธรรมาภิบาล" นับเป็นรัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์หมิง ครั้งที่ 2 ระหว่าง ค.ศ. 1457–64 ใช้พระนามว่า '''เทียนชุ่น''' ({{zh|t=天順|p=Tiānshùn}}) แปลว่า "สนองเทวบัญชา" นับเป็นรัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์หมิง<ref>{{citation|title=The Making of the Chinese State: Ethnicity and Expansion on the Ming Borderlands |author= Leo K. Shin|year= 2006|publisher=Cambridge University Press|url=http://books.google.com/?id=DOb-4JU18UAC&pg=RA2-PA159&lpg=RA2-PA159&dq=%22Zhengtong+Emperor%22|isbn=978-0-521-85354-5 }}</ref> นอกจากนี้ ยังเรียกขานพระนามตามวัดประจำรัชกาลที่ชื่อ '''อิงจง''' ({{zh|t=英宗|p=Yīngzōng}}) แปลว่า "วีรตระกูล"
[[ไฟล์:明英宗.jpg|thumb|250px|รูปภาพของจักรพรรดิเจิ้งถ่ง]]
{{ชื่ออื่น|||จักรพรรดิเทียนชุน (แก้ความกำกวม)}}
'''สมเด็จพระจักรพรรดิเจิ้งถ่ง''' หรือ '''สมเด็จพระจักรพรรดิเทียนซุ่น''' หรือ '''สมเด็จพระจักรพรรดิหมิงอิงจง''' (พระนามเดิม จู ฉีเจิน) ทรงเป็นจักรพรรดิจีนราชวงศ์หมิง ทรงขึ้นครองราชย์ใน[[พ.ศ. 1978]] เป็นจักรพรรดิเจิ้งถ่ง (正統) แต่ใน[[พ.ศ. 1992]] ระหว่างที่ทรงทำศึกกับมองโกลทรงถูกจับเป็นเชลยศึก ทางปักกิ่งจึงตั้งพระอนุชาขึ้นเป็นจักรพรรดิจิ่งไถ่ เมื่อจักรพรรดิเจิ้งถ่งทรงถูกปลอยตัวกลับมาก็ถูกพระอนุชาที่เป็นจักรพรรดิองค์ใหม่จับขังไว้ จนใน[[พ.ศ. 2000]] จักรพรรดิเจิ้งถ่งจึงทรงยึดอำนาจกลับขึ้นครองราชย์อีกครั้ง ใช้รัชศกใหม่คือเทียนซุ่น (天順) แต่ก็มีเหตุการณ์นองเลือดรุนแรงในรัชสมัยหลังของพระองค์ คือ กบฏเฉาฉิน


==อ้างอิง==
== รัชสมัยแรก ==
{{reflist}}
องค์ชายจู ฉีเจิน เป็นพระโอรสของ[[จักรพรรดิซวนเต๋อ]] กับ สนมซุน สนมองค์โปรดของฮ่องเต้ซวนเต๋อ แต่ตามหนังสือหมิงจื้อ (ประวัติศาสตร์ราชวงศ์หมิง) กล่าวว่าไม่มีใครทราบว่าพระราชมารดาของฮ่องเต้เจิ้งถ่งเป็นใคร เพราะสนมซุนจะส่งคนไปสืบทั่วทั้งวังว่ามีนางใดตั้งท้อง จับขังไว้เลี้ยงจนคลอดแล้วสังหารมารดาสวมรับลูกเป็นของตน เมื่อปรากฏว่าสนมซุนมีพระโอรสเป็นจู ฉีเจิน ทำให้ฐานะของสนมซุนมั่นคง ฮ่องเต้จึงปลดฮองเฮาองค์เดิมคือ ฮองเฮาโห และตั้งสนมซุนขึ้นเป็นฮองเฮาแทน จู ฉีเจินได้รับแต่งตั้งเป็นองค์ชายรัชทายาท ใน[[พ.ศ. 1978]] ฮ่องเต้ซวนเต๋อสิ้นพระชนม์ องค์ชายรัชทายาทขึ้นครองราชย์เป็น'''ฮ่องเต้เจิ้งถ่ง''' พระชนมายุแค่ 8 พรรษา ทรงเป็นฮ่องเต้พระเยาว์พระองค์แรกของราชวงศ์หมิง ทำให้พระองค์ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขันที[[หวัง เจิ้น]]


=== วิกฤตการตูมู่ ===
แม้[[ราชวงศ์หยวน]]จะถูกโค่นล้มไปแล้วและพวกมองโกลก็ถอยกลับคืนสู่ถิ่นเดิมในมองโกเลีย แต่เผ่ามองโกลต่างๆก็ยังคงเข้มแข็งและเข้ารุกรานจีนราชวงศ์หมิงอยู่บ่อยครั้ง ใน[[พ.ศ. 1992]] ผู้นำมองโกลเผ่าออยรัต คือ [[ราชครูเหย่เซียน]] นำทัพขนาดใหญ่บุกเข้าภาคกลาง ขันทีหวังเจิ้นแนะนำฮ่องเต้เจิ้งถ่งว่าทรงควรที่จะนำทัพด้วยพระองค์เอง ทัพต้าหมิงจึงถูกเกณฑ์อย่างรีบๆ มีขุนพลระดับสูงหลายคนติดตาม มีหวังเจิ้นเป็นผู้นำทัพหน้า

ทัพมองโกลเอาชนะทัพต้าหมิงของหวังเจิ้นได้อย่างราบคาบ ฮ่องเต้เจิ้งถ่งเห็นท่าไม่ดีจึงทรงแต่งตั้งพระอนุชาต่างมารดา คือ จู ฉีอี้ เป็นผู้สำเร็จราชการแทนในขณะที่พระองค์ออกรบ เมื่อทรงเดินทัพออกไปปรากฏฝนตกหนักดินเลนทำให้เดินทางลำบาก บรรดาขุนนางพากันเห็นว่าควรจะส่งฮ่องเต้กลับพระราชวัง แต่หวังเจิ้นยืนกรานว่างานนี้ฮ่องเต้ต้องทรงนำทัพเอง

หวังเจิ้นไม่อยากให้เดินทัพผ่านบ้านของเขาที่ยูโจว จึงให้อ้อมไปโจมตีทัพมองโกลทางตะวันออกเฉียงเหนือ แต่พอถึงเซียนฟูทัพหวังเจิ้นก็ถูกทัพมองโกลตีตลบหลังแตกพ่ายไปสิ้น ฝ่ายทัพหลวงอยู่ที่ป้อมตูมู่ บรรดาขุนนางเห็นว่าควรจะส่งฮ่องเต้ไปประทับที่เมืองฮวยไหล่ที่มีกำแพงแข็งแรง ซึ่งหวังเจิ้นก็คัดค้าน ทัพมองโกลยกทัพปิดทางออกแม่น้ำไว้มิให้ทัพต้าหมิงได้น้ำ และล้อมป้อมตูมู่ไว้ หวังเฉินปฏิเสธการเจรจาใดๆ และยกทัพไปทางแม่น้ำ ก็พบกับทัพมองโกลที่รออยู่ ทัพมองโกลตีทัพต้าหมิงแตกย่อยยับ สังหารขุนนางระดับสูงทุกคน รวมทั้งขันทีหวังเจิ้น และจับองค์ฮ่องเต้เจิ้งถ่ง

ทัพมองโกลที่ดักรอที่แม่น้ำนั้นมีกำลังน้อยมาก ทัพต้าหมิงที่มีการบัญชาการที่ไม่ดีต้องพ่ายแพ้แก่ทัพมองโกลเพียงหยิบมือ และการจับฮ่องเต้เป็นตัวประกันเท่ากับว่าเหย่เซียนมีโอกาสจะฟื้นฟูราชวงศ์มองโกลโดยการยึดปักกิ่งด้วยซ้ำ เป็นวิกฤตการร้ายแรงของราชวงศ์หมิง เรียกว่า '''วิกฤตการตูมู่ '''

แต่โอกาสทั้งหลายของเหย่เซียนก็ถูกทำลายด้วยความสามารถของขุนนางจีนที่ยู่ เฉียน เมื่อเหย่เซียนยกทัพมาห่างจากปักกิ่งเพียง 80 กิโลเมตร ยู่ เฉียน นำทัพต้าหมิงเข้าเอาชนะทัพมองโกล สำหรับปัญหาฮ่องเต้เจิ้งถ่งยู่ เฉียนก็แก้ปัญหาโดยการตั้งองค์ชายจูฉีอี้ พระอนุชาต่างมารดาของฮ่องเต้เจิ้งถ่ง ขึ้นครองราชย์เป็น[[ฮ่องเต้จิ่งไถ่]]แทน และให้ฮ่องเต้เจิ้งถ่งเป็น'''ไท่ซ่างหวง''' (ฮ่องเต้สละราชย์)

ฝ่ายเหย่เซียนเมื่อฝ่ายต้าหมิงมีฮ่องเต้องค์ใหม่แล้วก็มิรู้ว่าจะกักตัวฮ่องเต้เจิ้งถ่งไว้เพื่ออะไร จึงปล่อยตัวอดีตฮ่องเต้ออกมาในปีต่อมา[[พ.ศ. 1993]] เมื่อไท่ซ่างหวงกลับถึงปักกิ่ง ก็พบว่าพระองค์เองนั้นมิได้อำนาจอะไรเลยในฐานะไท่ซ่างหวง ฮ่องเต้จิ่งไถ่จัดที่ประทับให้ที่พระราชวังทักษิณใน[[พระราชวังต้องห้าม]] และห้ามมิให้ติดต่อใครเว้นแต่จะได้รับพระอนุญาตจากฮ่องเต้จิ่งไถ่ เท่ากับทรงถูกกุมขังดีๆนี่เอง

=== ไท่ซ่างหวง ===
ฮ่องเต้จิ่งไถ่ยังปลดองค์ชายรัชทายาทที่เป็นพระโอรสของฮ่องเต้เจิ้งถ่ง และแต่งตั้งพระโอรสของฮ่องเต้จิ่งไถ่เองเป็นรัชทายาทแทน แต่รัชทายาทองค์นี้ภายหลังก็สิ้นพระชนม์อย่างปริศนา แสดงว่าอิทธิพลของไท่ซ่างหวงในราชสำนักนั้นยังมีอยู่พอสมควร ฮ่องเต้จิ่งไถ่เสียพระทัยกับการสิ้นพระชนม์ของพระโอรสมาก จึงประชวรล้มป่วยลงและไม่แต่งตั้งรัชทายาทองค์ใหม่เพราะทรงไม่มีพระโอรสแล้ว

ใน[[พ.ศ. 2000]] ไท่ซ่างหวงเห็นเป็นโอกาส จึงก่อการยึดอำนาจปราบดาภิเษกตนเองเป็นฮ่องเต้อีกครั้ง ฮ่องเต้จิ่งไถ่สิ้นพระชนม์อย่างปริศนาอีกเดือนต่อมา คาดว่านะจะเป็นการบงการของไท่ซ่างหวง พร้อมทั้งบรรดาขุนนางทั้งหลายที่พลักดันให้ฮ่องแต้จิ่งไถ่ครองราชย์ เช่น ยู่ เฉียน ก็ถูกประหารชีวิต

== รัชสมัยที่สอง ==
ในรัชสมัยที่สองทรงใช้รัชศกว่า'''เทียนซุ่น''' แปลว่า เชื่อฟังสวรรค์ ใน[[พ.ศ. 2004]] ฮ่องเต้เทียนซุ่นออกฎีกาตักเตือนบรรดาขุนนางให้จงรักภักดีต่อพระองค์และอย่าทำผิดกฎหมายบ้านเมือง [[เฉา ฉิน]] ขุนนางที่มีความผิดฐานสังหารทหารองค์รักษ์ในวังเพื่อปกปิดความผิดในการติดต่อค้าขายกับต่างชาติ จึงร้อนตัวว่าตนจะถูกประหารชีวิตเป็นรายต่อไป จึงนำทัพมองโกลก่อกบฏ

ตั้งแต่ก่อตั้งราชวงศ์หมิงมา ชาวมองโกลที่มิได้กลับบ้านเกิดตนก็เข้ารับใช้ราชวงศ์ใหม่ส่วนมากเป็นขุนนางฝ่ายบู๊ระดับสูง บางคนเป็นถึงขุนพล และชาวฮั่นก็มิได้รังเกียจเดียดฉันท์ชาวมองโกลแต่อย่างใด แต่หลังวิกฤตการตูมู่ ทัศนคติของชาวฮั่นต่อชาวมองโกลเริ่มเปลี่ยนไป ชาวมองโกลไม่ได้รับความไว้วางใจอีกต่อไป

ทัพมองโกลของเฉาฉินนั้นคืนทัพที่เป็นทหารผ่าน[[ศึกลู่ชวน-ปิงหมิง]] ในสมัยฮ่องเต้เจิ้งถ่งเพื่อปราบปราม[[เผ่าไท]]และบุก[[อาณาจักรอังวะ]] ภายใต้การนำของบิดาบุญธรรมที่เป็นขันทีของเฉาฉิน ในปีนั้นทัพมองโกลบุกเข้ามาอีก เจ้ากรมกลาโหมหม่า อัง และขุนพลซุน ถัง นำทัพออกไปเพื่อรบมองโกล เฉาฉินจึงวางแผนล้มอำนาจฮ่องเต้จิ่งไถ่

=== กบฏเฉาฉิน ===
เฉาฉินจัดงานเลี้ยงให้ทหารมองโกลของเขา ทหารมองโกลคนหนึ่งขณะเมาสุราได้เผยแผนยึดอำนาจให้กับขุนพลฮั่นคนหนึ่ง เรื่องจึงรู้ไปถึงขุนพลซุน และรู้ไปถึงฮ่องเต้ ฮ่องเต้จึงมีพระบัญชาปิดประตูวังทั้งเก้าห้ามใครเข้าออก ฝ่ายเฉาฉินระแวงว่าแผนการของตนรั่ว พอทราบพระราชโองการจึงแน่ใจว่าแผนของตนแตกแล้ว จึงกระจายกำลังตามหาหม่า อังและซุน ถัง และตัวเฉาฉินเองก็ไปยังบ้านขององค์รักษ์ลู่ เกา เพื่อสังหารและพบราชเลขาลี่ เซียน ให้ร่างฎีกาขออภัยโทษจากฮ่องเต้ ว่าต้องการแค่แก้แค้นลู่เกา แต่แม้แต่กระดาษแผ่นเดียวก็ผ่านประตูวังไม่ได้

เมื่อขออภัยโทษไม่สำเร็จ เฉาฉินจึงจุดไฟเผาประตูวัง แต่บังเอิญฝนตกลงมาดับไฟเสียหมด ทัพทางการเข้าต่อสู้ เฉาฉินได้รับบาดเจ็บ หนีกลับไปยังบ้านของตน และกระโดดบ่อน้ำที่บ้านตนเองเสียชีวิต

{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
| ก่อนหน้า = [[จักรพรรดิซวนเต๋อ]]
| ตำแหน่ง = [[จักรพรรดิจีน]]
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์หมิง
| ปี = [[ค.ศ. 1435]] - [[ค.ศ. 1449|1449]]
| ถัดไป = [[จักรพรรดิจิ่งไท่]]
}}
{{สืบตำแหน่ง
| ก่อนหน้า = [[จักรพรรดิจิ่งไท่]]
| ตำแหน่ง = [[จักรพรรดิจีน]]
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์หมิง
| ปี = [[ค.ศ. 1457]] - [[ค.ศ. 1464|1464]]
| ถัดไป = [[จักรพรรดิเฉิงฮัว]]
}}
{{จบกล่อง}}
{{จักรพรรดิราชวงศ์หมิง}}

{{เรียงลำดับ|เจิ้งถ่ง}}
{{birth|1427}}{{death|1464}}
{{โครงชีวประวัติ}}


[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1970]]
[[หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์หมิง]]
[[หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์หมิง]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:22, 20 กรกฎาคม 2559

จักรพรรดิอิงจงแห่งราชวงศ์หมิง
Emperor Yingzong of Ming
รัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์หมิง
ครองราชย์7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1435 – 1 กันยายน ค.ศ. 1449[1]
ก่อนหน้าเซฺวียนเต๋อ
ถัดไปจิ่งไท่
พระเจ้าหลวง
ครองราชย์1 กันยายน ค.ศ. 1449 – 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1457
รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์หมิง
ครองราชย์11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1457 – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1464
ก่อนหน้าจิ่งไท่
ถัดไปเฉิงฮว่า
ประสูติ29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1427(1427-11-29)
สวรรคต23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1464(1464-02-23) (36 ปี)
ฝังพระศพYuling, Ming tombs, Beijing
คู่อภิเษกเฉียน
Empress Xiaosu
พระราชบุตรPrincess Chongqing
Zhu Jianshen, Chenghua Emperor
Zhu Jianlin, Prince Zhuang of De
Zhu Jianshi
Zhu Jianchun, Prince Dao of Xu
Zhu Jianshu, Prince Huai of Xiu
Zhu Jianze, Prince Jian of Chong
Zhu Jianjun, Prince Jian of Ji
Zhu Jianzhi, Prince Mu of Xin
Zhu Jianpei, Prince Zhuang of Hui
Princess Jiashan
Princess Chun'an
Princess Chongde
Princess Guangde
Princess Yixing
Princess Longqing
Princess Jiaxiang
two unnamed daughters
พระนามเต็ม
แซ่: จู (朱)
ชื่อ: ฉีเจิ้น (祁鎮)
รัชศก
เจิ้งถง (正統): 18 มกราคม ค.ศ. 1436 – 13 มกราคม ค.ศ. 1450
เทียนชุ่น (天順): 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1457 – 26 มกราคม ค.ศ. 1465
พระนามหลังสวรรคต
พระเจ้า Fatian Lidao Renming Chengjing Zhaowen Xianwu Zhide Guangxiao Rui
法天立道仁明誠敬昭文憲武至德廣孝睿皇帝
วัดประจำรัชกาล
หมิงอิงจง (明英宗)
ราชวงศ์ราชวงศ์หมิง ตระกูลจู
พระราชบิดาเซฺวียนเต๋อ
พระราชมารดาซุน

จู ฉีเจิ้น (จีน: 朱祁鎮; พินอิน: Zhū Qízhèn; 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1427 – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1464) เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หมิง เสวยราชย์ 2 ครั้ง ครั้งแรกระหว่าง ค.ศ. 1435–49 ใช้พระนามว่า เจิ้งถ่ง (จีน: 正統; พินอิน: Zhèngtǒng) แปลว่า "ธรรมาภิบาล" นับเป็นรัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์หมิง ครั้งที่ 2 ระหว่าง ค.ศ. 1457–64 ใช้พระนามว่า เทียนชุ่น (จีน: 天順; พินอิน: Tiānshùn) แปลว่า "สนองเทวบัญชา" นับเป็นรัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์หมิง[2] นอกจากนี้ ยังเรียกขานพระนามตามวัดประจำรัชกาลที่ชื่อ อิงจง (จีน: 英宗; พินอิน: Yīngzōng) แปลว่า "วีรตระกูล"

อ้างอิง

  1. พระองค์ถูกมองโกลจับเป็นเชลย พระอนุชาขึ้นครองราชย์แทน ใช้พระนามว่า จิ่งไท่ (景泰) แล้วตั้งให้พระองค์เป็นพระเจ้าหลวง (太上皇) จนถึง ค.ศ. 1457
  2. Leo K. Shin (2006), The Making of the Chinese State: Ethnicity and Expansion on the Ming Borderlands, Cambridge University Press, ISBN 978-0-521-85354-5