ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศแอลจีเรีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 128: บรรทัด 128:
{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}


== เศรษฐกิจ ==
== เศรษฐกิจ ==555
=== ไฮโดรคาร์บอน ===
=== ไฮโดรคาร์บอน ===
{{บทความหลัก|อุตสาหกรรมเหมืองแร่ในแอลจีเรีย}}
{{บทความหลัก|อุตสาหกรรมเหมืองแร่ในแอลจีเรีย}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:05, 26 มิถุนายน 2559

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย

الجمهورية الجزائرية الديمقراطية الشّعبية (อาหรับ)
คำขวัญمن الشعب و للشعب
("การปฏิวัติโดยประชาชนและเพื่อประชาชน")
เพลงชาติKassaman ("คำสาบาน")
ที่ตั้งของแอลจีเรีย
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
แอลเจียร์
ภาษาราชการภาษาอาหรับ
ภาษาที่สองภาษาฝรั่งเศส 1
การปกครองสาธารณรัฐประชาธิปไตย
อับดุลอะซีซ บูเตฟลีกา
อับดุลมะลิก ซะลาล
เอกราช
• จาก ฝรั่งเศส
5 กรกฎาคม พ.ศ. 2505
พื้นที่
• รวม
2,381,741 ตารางกิโลเมตร (919,595 ตารางไมล์) (11)
น้อยมาก
ประชากร
• 2548 ประมาณ
32,854,000 (37)
• สำมะโนประชากร 2541
29,100,867
14 ต่อตารางกิโลเมตร (36.3 ต่อตารางไมล์) (196)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2548 (ประมาณ)
• รวม
237.684 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (38)
7,189 ดอลลาร์สหรัฐ (86)
เอชดีไอ (2015)0.736
สูง · 83
สกุลเงินดีนาร์แอลจีเรีย (DZD)
เขตเวลาUTC+1 (CET)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+1 (CET)
รหัสโทรศัพท์213
โดเมนบนสุด.dz
1 ภาษาฝรั่งเศสใช้ในวงการธุรกิจ ส่วนภาษาเบอร์เบอร์เป็นภาษาประจำชาติ

แอลจีเรีย (อังกฤษ: Algeria; อาหรับ: الجزائر) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย (อังกฤษ: People's Democratic Republic of Algeria; อาหรับ: الجمهورية الجزائرية الديمقراطية الشّعبية) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ และเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ในทวีปแอฟริกา รองจากประเทศซูดาน มีอาณาเขตทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศตูนิเซีย ทางตะวันออกจรดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จรดประเทศไนเจอร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศมาลีและประเทศมอริเตเนีย และทางตะวันตกจรดประเทศโมร็อกโก รวมถึงหลายกิโลเมตรของพื้นที่ที่ยึดครองมาได้บางส่วน คือ เวสเทิร์นสะฮารา

ประเทศแอลจีเรียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ โดยรัฐธรรมนูญ ได้นิยามไว้ว่าแอลจีเรียเป็นประเทศ อิสลาม อาหรับ และอะมาซิก (เบอร์เบอร์) ชื่อประเทศแอลจีเรีย (Algeria) มาจากชื่อเมืองหลวงแอลเจียร์ ซึ่งมาจากคำภาษาอาหรับว่า อัลญะซาอิร (al-jazā’ir) ซึ่งแปลว่า "หมู่เกาะ" หมายถึงเกาะ 4 เกาะ ที่อยู่นอกชายฝั่งของเมือง ก่อนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแผ่นดินใหญ่เมื่อปี พ.ศ. 2068

ภูมิศาสตร์

สภาพอากาศ

สภาพนิเวศวิทยา

ประวัติศาสตร์

ยุคก่อนประวัติศาสตร์

ยุคกลาง

กลุ่มชนที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานกลุ่มแรกคือชาวเบอร์เบอร์ จากนั้นจึงมีชาวฟินิเชียน ชาวโรมันและชาวอาหรับเข้ามา

จักรวรรดิออตโตมัน

แอลจีเรียอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมันในช่วง พ.ศ. 2061 - 2373 จากนั้นจึงตกอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส

อาณานิคมฝรั่งเศส

แม้จะได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมฝรั่งเศสมาก แต่ชาวอาหรับในแอลจีเรียคงทำสงครามแบบกองโจรต่อต้านฝรั่งเศสอย่างต่อเนื่อง จนฝรั่งเศสยอมถอนตัวจากแอลจีเรีย โดยแอลจีเรียได้รับเอกราชเมื่อ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2505

การประกาศเอกราช

อาห์เม็ด เบลล์ เบลลา เป็นผู้นำในช่วง พ.ศ. 2505 - 2508 จากนั้นถูกคณะทหารปฏิวัติ พ.ศ. 2510 แอลจีเรียประกาศสงครามกับอิสราเอล และหันไปผูกมิตรกับสหภาพโซเวียต

สงครามกลางเมือง

ปัญหาทางเศรษฐกิจเป็นเหตุให้ประชาชนก่อการจลาจลเมื่อ พ.ศ. 2531 รัฐบาลปราบปรามด้วยความรุนแรงจนมีผู้เสียชีวิตไป 500 คน พ.ศ. 2532 แอลจีเรียประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ให้สิทธิเสรีภาพแก่ประชาชนมากขึ้น

การเมืองการปกครอง

บริหาร

นิติบัญญัติ

ตุลาการ

กระบวนการยุติธรรม และ กฎหมาย

สถานการณ์การเมือง

การแบ่งเขตการปกครอง

 
เมืองที่ใหญ่ที่สุดในแอลจีเรีย
ONS estimates for 2008
อันดับ ชื่อ จังหวัด ประชากร
แอลเจียร์
แอลเจียร์
ออราน
ออราน
1 แอลเจียร์ จังหวัดแอลเจียร์ 4,988,145 กงส์ต็องตีน
กงส์ต็องตีน
เซติฟ
เซติฟ
2 ออราน จังหวัดออราน 1,224,540
3 กงส์ต็องตีน จังหวัดกงส์ต็องตีน 943,112
4 เซติฟ จังหวัดเซติฟ 609,499
5 อันนาบา จังหวัดอันนาบา 317,206
6 บลีดา จังหวัดบลีดา 264,598
7 บัตนา จังหวัดบัตนา 246,379
8 เคลฟ จังหวัดเคลฟ 235,062
9 ตแลมแซน จังหวัดตแลมแซน 221,231
10 ซิดิเบลเอบเบส จังหวัดซิดิเบลเอบเบส 208,498

ความสัมพันธ์ระหวางประเทศ

กองทัพ

กองกำลังกึ่งทหาร

== เศรษฐกิจ ==555

ไฮโดรคาร์บอน

ตลาดแรงงาน

การท่องเที่ยว

โครงสร้างพื้นฐาน

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

คมนาคม และ โทรคมนาคม

การศึกษา

สาธารณสุข

ประชากร

Historical populations (in thousands)
ปีประชากร±% p.a.
1856 2,496—    
1872 2,416−0.20%
1886 3,752+3.19%
1906 4,721+1.16%
1926 5,444+0.72%
1931 5,902+1.63%
1936 6,510+1.98%
1948 7,787+1.50%
1954 8,615+1.70%
1966 12,022+2.82%
1977 16,948+3.17%
1987 23,051+3.12%
1998 29,113+2.15%
2008 34,080+1.59%
ที่มา: (1856–1872)[1] (1886–2008)[2]

เชื้อชาติ

ประชากรส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาอาหรับ ชนกลุ่มน้อยที่มีจำนวนมากที่สุด คือ ชาวเบอร์เบอร์

ภาษา

ภาษาในประเทศแอลจีเรีย มีภาษาอาหรับ เป็นภาษาราชการ ภาษาอื่นได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเบอร์เบอร์

ศาสนา

Religion in Algeria, 2010 <แอลจีเรียref name="cia" />
Religion Percent
Islam
  
99%
Christianity
  
1%

ศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาประจำชาติ มีศาสนาคริสต์และอื่นๆ ในสัดส่วนน้อย

กีฬา

ฟุตบอล

วอลเลย์บอล

มวยสากล

วัฒนธรรม

วรรณกรรม

อาหาร

ดนตรี

สื่อมวลชน

วันหยุด

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Kamel Kateb (2001). Européens, "indigènes" et juifs en Algérie (1830–1962). INED. p. 30. ISBN 978-2-7332-0145-9. สืบค้นเมื่อ 2013-02-14.
  2. "Armature Urbaine" (PDF). V° Recensement Général de la Population et de l'Habitat – 2008. Office National des Statistiques. 2011. p. 82. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  • ประเทศแอลจีเรีย กระทรวงต่างประเทศ
  • ธนู แก้วโอภาส. ประวัติศาสตร์แอฟริกา. กทม. สุขภาพใจ. 2548

แหล่งข้อมูลอื่น