ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กุ้ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:Rhynchocinetes durbanensis.JPG|thumb|[[กุ้งมดแดง]] (''Rhynchocinetes durbanensis'') เป็นกุ้งทะเลขนาดเล็กที่มีสีสันสวยงาม นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์น้ำสวยงามในตู้ปลา]]
[[ภาพ:Rhynchocinetes durbanensis.JPG|thumb|[[กุ้งมดแดง]] (''Rhynchocinetes durbanensis'') เป็นกุ้งทะเลขนาดเล็กที่มีสีสันสวยงาม นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์น้ำสวยงามในตู้ปลา]]
'''กุ้ง''' เป็น[[ชื่อสามัญ]]ของ[[สัตว์ขาปล้อง]]จำพวกหนึ่งที่จัดอยู่ใน[[ไฟลัม]][[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง]] ชั้น [[Crustacea]] อันดับ [[Decapoda]] มีด้วยกันหลายวงศ์ หลายชนิด กุ้งเป็นสัตว์น้ำ หายใจด้วยเหงือก ลำตัวยาว แบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้องๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ 8 ส่วนใหญ่กรีมีลักษณะแบนข้าง ก้ามและขาอยู่ที่ส่วนหัวและอก มี 10 ขา มีทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม โดยปกติชอบหลบซ่อนตัวอยู่เงียบ ๆ ตามพื้นน้ำหรือในวอกมือด ๆ จะออกหากินในเวลากลางคืน กุ้งกินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร เช่น กิน กุ้งด้วยกันเอง ลูกปลา ไส้เดือน สัตว์หน้าดินขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ ข้าว เนื้อมะพร้าวตลอดจนซากสัตว์ สามารถแบ่งออกได้หลายชนิด เช่น [[กุ้งกุลาดำ]], [[กุ้งก้ามกราม]], [[กุ้งก้ามกราม|กุ้งนาง]], [[กุ้งก้ามกราม|กุ้งหลวง]], [[กุ้งก้ามเกลี้ยง]], [[กุ้งตะกาด]], [[กุ้งตะเข็บ]], [[กุ้งฝอย]], [[กุ้งหัวแข็ง]], [[กุ้งหัวโขน]], [[กุ้งขาว]], [[กุ้งรู]], [[กุ้งหิน]], [[กุ้งดีดขัน]], [[กุ้งแชบ๊วย]], [[เครย์ฟิช|กุ้งเครย์ฟิช]] ส่วนประกอบของเปลือกกุ้งส่วนใหญ่เป็น[[ไคติน]] รองลงมาก็เป็นจำพวกแร่ธาตุ [[โปรตีน]] ส่วนของ[[ไขมัน]] เป็นต้น<ref>{{cite web|title=กุ้ง|url=http://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th-royal-institute/%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%87|publisher=สนุกดอตคอม}}</ref>
'''กุ้ง''' เป็น[[ชื่อสามัญ]]<ref>Mortenson, Philip B (2010) [https://books.google.com/books/about/This_is_not_a_weasel.html?id=VZnuAAAAMAAJ&redir_esc=y ''This is not a weasel: a close look at nature's most confusing terms''] Pages 106–109, John Wiley & Sons. ISBN 9780471273967.</ref>ของ[[สัตว์ขาปล้อง]]จำพวกหนึ่งที่จัดอยู่ใน[[ไฟลัม]][[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง]] ชั้น [[Crustacea]] อันดับ [[Decapoda]] มีด้วยกันหลายวงศ์ หลายชนิด กุ้งเป็นสัตว์น้ำ หายใจด้วยเหงือก ลำตัวยาว แบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้องๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ 8 ส่วนใหญ่กรีมีลักษณะแบนข้าง ก้ามและขาอยู่ที่ส่วนหัวและอก มี 10 ขา มีทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม โดยปกติชอบหลบซ่อนตัวอยู่เงียบ ๆ ตามพื้นน้ำหรือในวอกมือด ๆ จะออกหากินในเวลากลางคืน กุ้งกินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร เช่น กิน กุ้งด้วยกันเอง ลูกปลา ไส้เดือน สัตว์หน้าดินขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ ข้าว เนื้อมะพร้าวตลอดจนซากสัตว์ สามารถแบ่งออกได้หลายชนิด เช่น [[กุ้งกุลาดำ]], [[กุ้งก้ามกราม]], [[กุ้งก้ามกราม|กุ้งนาง]], [[กุ้งก้ามกราม|กุ้งหลวง]], [[กุ้งก้ามเกลี้ยง]], [[กุ้งตะกาด]], [[กุ้งตะเข็บ]], [[กุ้งฝอย]], [[กุ้งหัวแข็ง]], [[กุ้งหัวโขน]], [[กุ้งขาว]], [[กุ้งรู]], [[กุ้งหิน]], [[กุ้งดีดขัน]], [[กุ้งแชบ๊วย]], [[เครย์ฟิช|กุ้งเครย์ฟิช]] ส่วนประกอบของเปลือกกุ้งส่วนใหญ่เป็น[[ไคติน]] รองลงมาก็เป็นจำพวกแร่ธาตุ [[โปรตีน]] ส่วนของ[[ไขมัน]] เป็นต้น<ref>{{cite web|title=กุ้ง|url=http://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th-royal-institute/%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%87|publisher=สนุกดอตคอม}}</ref>


== ความสำคัญทางเศรษฐกิจ ==
== ความสำคัญทางเศรษฐกิจ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:36, 21 มิถุนายน 2559

กุ้งมดแดง (Rhynchocinetes durbanensis) เป็นกุ้งทะเลขนาดเล็กที่มีสีสันสวยงาม นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์น้ำสวยงามในตู้ปลา

กุ้ง เป็นชื่อสามัญ[1]ของสัตว์ขาปล้องจำพวกหนึ่งที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ชั้น Crustacea อันดับ Decapoda มีด้วยกันหลายวงศ์ หลายชนิด กุ้งเป็นสัตว์น้ำ หายใจด้วยเหงือก ลำตัวยาว แบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้องๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ 8 ส่วนใหญ่กรีมีลักษณะแบนข้าง ก้ามและขาอยู่ที่ส่วนหัวและอก มี 10 ขา มีทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม โดยปกติชอบหลบซ่อนตัวอยู่เงียบ ๆ ตามพื้นน้ำหรือในวอกมือด ๆ จะออกหากินในเวลากลางคืน กุ้งกินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร เช่น กิน กุ้งด้วยกันเอง ลูกปลา ไส้เดือน สัตว์หน้าดินขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ ข้าว เนื้อมะพร้าวตลอดจนซากสัตว์ สามารถแบ่งออกได้หลายชนิด เช่น กุ้งกุลาดำ, กุ้งก้ามกราม, กุ้งนาง, กุ้งหลวง, กุ้งก้ามเกลี้ยง, กุ้งตะกาด, กุ้งตะเข็บ, กุ้งฝอย, กุ้งหัวแข็ง, กุ้งหัวโขน, กุ้งขาว, กุ้งรู, กุ้งหิน, กุ้งดีดขัน, กุ้งแชบ๊วย, กุ้งเครย์ฟิช ส่วนประกอบของเปลือกกุ้งส่วนใหญ่เป็นไคติน รองลงมาก็เป็นจำพวกแร่ธาตุ โปรตีน ส่วนของไขมัน เป็นต้น[2]

ความสำคัญทางเศรษฐกิจ

กุ้งไทยเป็นสินค้าที่มีศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลกสูงมาก ช่วง 5 ปีที่ผ่านมาการส่งออกกุ้งของไทยเติบโตเฉลี่ยราว 12% ต่อปี สูงกว่าอัตราการเติบโตเฉลี่ยของโลกที่ 4% ต่อปี ปัจจุบันประเทศไทยผลิตกุ้งได้ราว 500,000 ตันต่อปี ผลผลิตส่วนใหญ่ 80% หรือ 400,000 ตัน ใช้เพื่อการส่งออก สามารถสร้างรายได้เข้าประเทศได้ปีละกว่า 90,000 ล้านบาท ส่งผลให้ไทยเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกกุ้งรวมถึงผลิตภัณฑ์แปรรูปใหญ่เป็นอันดับ 1 ของโลกโดยในปี"52 กุ้งและผลิตภัณฑ์แปรรูปของไทยครองส่วนแบ่งในตลาดโลกสูงถึง 23.9% โดยมีปริมาณการส่งออก 389,999 ตัน คิดเป็นมูลค่า 94,149 ล้านบาท หรือสูงราว 12.23% ของมูลค่าส่งออกสินค้าอาหารทั้งหมดของไทย ตลาดส่งออกกุ้งของไทยที่สำคัญอันดับ 1 ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 48.9% รองลงไปคือ ญี่ปุ่น 20.4% สหภาพยุโรป 12.5% แคนาดา 5.6% ออสเตรเลีย 2.4% และเกาหลีใต้ 2.1%

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Mortenson, Philip B (2010) This is not a weasel: a close look at nature's most confusing terms Pages 106–109, John Wiley & Sons. ISBN 9780471273967.
  2. "กุ้ง". สนุกดอตคอม.