ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดกันมาตุยาราม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
กสิณธร ราชโอรส (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล พุทธศาสนสถาน
{{ต้องการอ้างอิง}}
| full_name = วัดกันมาตุยาราม
| common_name =
| image_temple = วัดกันมาตุยาราม เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร (4).JPG
| short_describtion = สถูปมอญ
| type_of_place = [[วัดราษฎร์]]
| branch = [[ธรรมยุติกนิกาย]]
| special_things =
| principal_buddha =
| important_buddha =
| pre_road =
| road_name =
| sub_district = [[แขวงสัมพันธวงศ์]]
| district = [[เขตสัมพันธวงศ์]]
| province = [[กรุงเทพมหานคร]]
| zip_code = 10100
| tel_no =
| pass_buses =
| pass_boats =
| pass_rails =
| open_time =
| entrance_fee =
| shouldnt_miss =
| activities =
| local_tourguide =
| foods_beverages =
| do_not_do =
| photography =
| car_parks =
| local_attraction =
| footnote =
}}

[[ไฟล์:พระประธาน วัดกันมาตุยาราม.jpg|left|150px|thumb|พระประธานในอุโบสถ]]
'''วัดกันมาตุยาราม''' เป็นวัดราษฎร์ขนาดเล็ก สังกัด[[ธรรมยุติ]]นิกาย ตั้งอยู่ริมถนนมังกร [[เขตสัมพันธวงศ์]] [[กรุงเทพมหานคร]] แวดล้อมด้วยชุมชน[[ชาวไทยเชื้อสายจีน]] ในบริเวณใกล้เคียงกับวัดกุศลสมาครของฝ่ายอนัมนิกาย และวัดบำเพ็ญจีนพรตของฝ่ายจีนนิกาย วัดนี้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2407 ตรงกับปลายรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 4 โดย'''นางกลีบ สาครวาสี''' ได้อุทิศสวนดอกไม้สร้างเป็นวัดขึ้น ต่อมาบุตรของนางกลับ คือ พระดรุณรักษา (กัน สาครวาสี) ได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อสร้างวัดเสร็จแล้ว นางกลีบ ได้น้อมเกล้าฯ ถวาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า"วัดกันมาตุยาราม" อันหมายถึง วัดที่มารดาของนายกันเป็นผู้สร้าง บริเวณวัดแห่งนี้ค่อนข้างคับแคบ ปูชนียสถานสำคัญมีเจดีย์ทรงระฆังคว่ำแบบลังกาสร้างเลียนแบบธัมเมกขสถูปในประเทศ[[อินเดีย]] และในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องพุทธประวัติ วัดนี้เคยเป็นที่จำพรรษาของ สุชีโวภิกขุ หรือ อาจารย์[[สุชีพ ปุญญานุภาพ]] ปราชญ์ทาง[[พระพุทธศาสนา]]คนหนึ่งของ[[ประเทศไทย]]
'''วัดกันมาตุยาราม''' เป็นวัดราษฎร์ขนาดเล็ก สังกัด[[ธรรมยุติ]]นิกาย ตั้งอยู่ริมถนนมังกร [[เขตสัมพันธวงศ์]] [[กรุงเทพมหานคร]] แวดล้อมด้วยชุมชน[[ชาวไทยเชื้อสายจีน]] ในบริเวณใกล้เคียงกับวัดกุศลสมาครของฝ่ายอนัมนิกาย และวัดบำเพ็ญจีนพรตของฝ่ายจีนนิกาย วัดนี้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2407 ตรงกับปลายรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 4 โดย'''นางกลีบ สาครวาสี''' ได้อุทิศสวนดอกไม้สร้างเป็นวัดขึ้น ต่อมาบุตรของนางกลับ คือ พระดรุณรักษา (กัน สาครวาสี) ได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อสร้างวัดเสร็จแล้ว นางกลีบ ได้น้อมเกล้าฯ ถวาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า"วัดกันมาตุยาราม" อันหมายถึง วัดที่มารดาของนายกันเป็นผู้สร้าง บริเวณวัดแห่งนี้ค่อนข้างคับแคบ ปูชนียสถานสำคัญมีเจดีย์ทรงระฆังคว่ำแบบลังกาสร้างเลียนแบบธัมเมกขสถูปในประเทศ[[อินเดีย]] และในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องพุทธประวัติ วัดนี้เคยเป็นที่จำพรรษาของ สุชีโวภิกขุ หรือ อาจารย์[[สุชีพ ปุญญานุภาพ]] ปราชญ์ทาง[[พระพุทธศาสนา]]คนหนึ่งของ[[ประเทศไทย]]

[[ไฟล์:วัดกันมาตุยาราม เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร (2).JPG|left|150px|thumb|ลายปูนปั้นที่ซุ้มประตูวัด]]



{{สร้างปี|2407}}
{{สร้างปี|2407}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:31, 21 มิถุนายน 2559

วัดกันมาตุยาราม
สถูปมอญ
แผนที่
ที่ตั้งแขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100
ประเภทวัดราษฎร์
นิกายธรรมยุติกนิกาย
พระพุทธศาสนา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา
พระประธานในอุโบสถ

วัดกันมาตุยาราม เป็นวัดราษฎร์ขนาดเล็ก สังกัดธรรมยุตินิกาย ตั้งอยู่ริมถนนมังกร เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร แวดล้อมด้วยชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีน ในบริเวณใกล้เคียงกับวัดกุศลสมาครของฝ่ายอนัมนิกาย และวัดบำเพ็ญจีนพรตของฝ่ายจีนนิกาย วัดนี้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2407 ตรงกับปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 โดยนางกลีบ สาครวาสี ได้อุทิศสวนดอกไม้สร้างเป็นวัดขึ้น ต่อมาบุตรของนางกลับ คือ พระดรุณรักษา (กัน สาครวาสี) ได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อสร้างวัดเสร็จแล้ว นางกลีบ ได้น้อมเกล้าฯ ถวาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า"วัดกันมาตุยาราม" อันหมายถึง วัดที่มารดาของนายกันเป็นผู้สร้าง บริเวณวัดแห่งนี้ค่อนข้างคับแคบ ปูชนียสถานสำคัญมีเจดีย์ทรงระฆังคว่ำแบบลังกาสร้างเลียนแบบธัมเมกขสถูปในประเทศอินเดีย และในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องพุทธประวัติ วัดนี้เคยเป็นที่จำพรรษาของ สุชีโวภิกขุ หรือ อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ ปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาคนหนึ่งของประเทศไทย

ลายปูนปั้นที่ซุ้มประตูวัด