ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟุตบอลทีมชาติโปรตุเกส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 43: บรรทัด 43:
ในปี ค.ศ. 2003 สหพันธ์ฟุตบอลโปรตุเกสตัดสินใจจ้าง[[ลุยซ์ ฟิลิเป สโกลารี]] ชาวบราซิลที่เคยนำ[[ฟุตบอลทีมชาติบราซิล|บราซิล]] ได้แชมป์ใน[[ฟุตบอลโลก 2002]] โดยสโกลารีนำโปรตุเกสเข้าสู่รอบสุดท้ายใน[[ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004]] แต่แพ้ให้กับ[[ฟุตบอลทีมชาติกรีซ|กรีซ]] ในรอบชิงชนะเลิศ ซึ่งนั่นทำให้โปรตุเกสจนถึงปัจจุบันนี้กลายเป็นเจ้าภาพเพียงชาติเดียวใน[[ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป]]ที่ในรอบชิงชนะเลิศ ไม่ชนะ<ref name="หน้า">หน้า 13 กีฬา, ''โปรตุเกส หากท็อปอฟร์มมีลุ้นถึงแชมป์'' โดย ทีมข่าวกีฬา. "ตะลุยยูโร". '''เดลินิวส์'''ฉบับที่ 24,321: วันอาทิตย์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 7 ปีวอก</ref> และต่อมายังทำให้ทีมเข้าสู่ฟุตบอลโลก 4 ทีมสุดท้าย เป็นครั้งที่ 2 ในปี 2006 แต่หลังจากนั้นสโกลารีออกไปในปี 2008 เพื่อเป็นผู้จัดการทีม[[สโมสรฟุตบอลเชลซี|เชลซี]] โดยได้[[คาร์ลอส เคยรอซ]] มาเป็นผู้จัดการคนใหม่ของทีมชาติโปรตุเกสในปี 2008 และเคยรอซได้นำทีมชาติโปรตุเกสเข้าสู่สุดท้ายใน[[ฟุตบอลโลก 2010]]
ในปี ค.ศ. 2003 สหพันธ์ฟุตบอลโปรตุเกสตัดสินใจจ้าง[[ลุยซ์ ฟิลิเป สโกลารี]] ชาวบราซิลที่เคยนำ[[ฟุตบอลทีมชาติบราซิล|บราซิล]] ได้แชมป์ใน[[ฟุตบอลโลก 2002]] โดยสโกลารีนำโปรตุเกสเข้าสู่รอบสุดท้ายใน[[ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004]] แต่แพ้ให้กับ[[ฟุตบอลทีมชาติกรีซ|กรีซ]] ในรอบชิงชนะเลิศ ซึ่งนั่นทำให้โปรตุเกสจนถึงปัจจุบันนี้กลายเป็นเจ้าภาพเพียงชาติเดียวใน[[ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป]]ที่ในรอบชิงชนะเลิศ ไม่ชนะ<ref name="หน้า">หน้า 13 กีฬา, ''โปรตุเกส หากท็อปอฟร์มมีลุ้นถึงแชมป์'' โดย ทีมข่าวกีฬา. "ตะลุยยูโร". '''เดลินิวส์'''ฉบับที่ 24,321: วันอาทิตย์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 7 ปีวอก</ref> และต่อมายังทำให้ทีมเข้าสู่ฟุตบอลโลก 4 ทีมสุดท้าย เป็นครั้งที่ 2 ในปี 2006 แต่หลังจากนั้นสโกลารีออกไปในปี 2008 เพื่อเป็นผู้จัดการทีม[[สโมสรฟุตบอลเชลซี|เชลซี]] โดยได้[[คาร์ลอส เคยรอซ]] มาเป็นผู้จัดการคนใหม่ของทีมชาติโปรตุเกสในปี 2008 และเคยรอซได้นำทีมชาติโปรตุเกสเข้าสู่สุดท้ายใน[[ฟุตบอลโลก 2010]]


ใน[[ฟุตบอลโลก 2006]] โปรตุเกสได้รับรางวัล "ฟีฟ่าเวิลด์คัพเอนเตอร์เทนเมนต์ทีมอวอร์ด" คือ ทีมที่เล่นได้สนุกเร้าใจที่สุดในการแข่งขันฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย โดยเป็นทีมสุดท้ายด้วยที่ได้รับรางวัลนี้ก่อนที่จะถูกยกเลิกไป<ref name="หน้า"/>
ใน[[ฟุตบอลโลก 2006]] โปรตุเกสได้รับรางวัล "[[รางวัลฟุตบอลโลก|ฟีฟ่าเวิลด์คัพเอนเตอร์เทนเมนต์ทีมอวอร์ด]]" คือ ทีมที่เล่นได้สนุกเร้าใจที่สุดในการแข่งขันฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย โดยเป็นทีมสุดท้ายด้วยที่ได้รับรางวัลนี้ก่อนที่จะถูกยกเลิกไป<ref name="หน้า"/>





รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:05, 5 มิถุนายน 2559

ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส
Shirt badge/Association crest
ฉายาSelecção das Quinas[1], Os Navegadores(ผู้นำทาง)[2], A Selecção (ผู้ถูกเลือก)
ฝอยทอง (ในภาษาไทย)[3]
สมาคมสหพันธ์ฟุตบอลโปรตุเกส
สมาพันธ์UEFA (ยุโรป)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนแฟร์นานดู ซันตูส
กัปตันคริสเตียโน โรนัลโด
ติดทีมชาติสูงสุดลูอีช ฟีกู (127)
ทำประตูสูงสุดเปาเลตา (47)
รหัสฟีฟ่าPOR
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน3
อันดับสูงสุด3 (พฤษภาคม 2010)
อันดับต่ำสุด43 (สิงหาคม 1998)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
สเปน สเปน 3–1 โปรตุเกส โปรตุเกส
(มาดริด, สเปน; 18 ธันวาคม 1921)
ชนะสูงสุด
โปรตุเกส โปรตุเกส 8–0 ลีชเทินชไตน์ ธงชาติลีชเทินชไตน์
(ลิสบอน, โปรตุเกส; 18 พฤศจิกายน 1994)
โปรตุเกส โปรตุเกส 8–0 คอสตาริกา คอสตาริกา
(กูอิงบรา, โปรตุเกส; 9 มิถุนายน 1999)
โปรตุเกส โปรตุเกส 8–0 คูเวต ธงชาติคูเวต
(ไลเรียอา, โปรตุเกส; 19 พฤศจิกายน 2003)
แพ้สูงสุด
โปรตุเกส โปรตุเกส 0–10 อังกฤษ อังกฤษ
(ลิสบอน, โปรตุเกส; 25 พฤษภาคม 1947)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม5 (ครั้งแรกใน 1966)
ผลงานดีที่สุดที่ 3, 1966
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
เข้าร่วม5 (ครั้งแรกใน 1984)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ, 2004

ฟุตบอลทีมชาติโปรตุเกส (โปรตุเกส: Seleção Portuguesa de Futebol) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลระดับทีมชาติจากโปรตุเกส ปัจจุบันอยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลโปรตุเกส

ในระดับโลก โปรตุเกสยังไม่เคยได้แชมป์ใด ๆ โปรตุเกสเคยได้อันดับ 4 ในฟุตบอลโลก 2006 เข้าแข่งฟุตบอลโลกครั้งแรกในปี ค.ศ. 1966 ที่เข้ารอบ 4 ทีมสุดท้าย (ที่ 3) แพ้ให้กับอังกฤษ 2–1 ต่อมาโปรตุเกสติดเข้ารอบฟุตบอลโลกในปี ค.ศ. 1986 และ 2002 แต่ตกรอบไปตั้งแต่รอบแรก

ในปี ค.ศ. 2003 สหพันธ์ฟุตบอลโปรตุเกสตัดสินใจจ้างลุยซ์ ฟิลิเป สโกลารี ชาวบราซิลที่เคยนำบราซิล ได้แชมป์ในฟุตบอลโลก 2002 โดยสโกลารีนำโปรตุเกสเข้าสู่รอบสุดท้ายในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004 แต่แพ้ให้กับกรีซ ในรอบชิงชนะเลิศ ซึ่งนั่นทำให้โปรตุเกสจนถึงปัจจุบันนี้กลายเป็นเจ้าภาพเพียงชาติเดียวในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปที่ในรอบชิงชนะเลิศ ไม่ชนะ[4] และต่อมายังทำให้ทีมเข้าสู่ฟุตบอลโลก 4 ทีมสุดท้าย เป็นครั้งที่ 2 ในปี 2006 แต่หลังจากนั้นสโกลารีออกไปในปี 2008 เพื่อเป็นผู้จัดการทีมเชลซี โดยได้คาร์ลอส เคยรอซ มาเป็นผู้จัดการคนใหม่ของทีมชาติโปรตุเกสในปี 2008 และเคยรอซได้นำทีมชาติโปรตุเกสเข้าสู่สุดท้ายในฟุตบอลโลก 2010

ในฟุตบอลโลก 2006 โปรตุเกสได้รับรางวัล "ฟีฟ่าเวิลด์คัพเอนเตอร์เทนเมนต์ทีมอวอร์ด" คือ ทีมที่เล่นได้สนุกเร้าใจที่สุดในการแข่งขันฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย โดยเป็นทีมสุดท้ายด้วยที่ได้รับรางวัลนี้ก่อนที่จะถูกยกเลิกไป[4]


ประวัติ

เกียรติประวัติ

  • อันดับ 3 (1): 1966
  • รอบแรก (1): 1986
  • อันดับ 4 (1): 2006
  • รอบสอง (1): 2010
  • รองชนะเลิศ (1): 2004
  • อันดับ 4 (1): 1996

อดีตผู้เล่นที่มีชื่อเสียง

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Selecção das Quinas หมายถึง "ห้าโล่" ("ทีมแห่ง เอสคิวต์เชียน"ส) หรือสัญลักษณ์ห้าจุดข้างใน ("ทีมแห่ง เบเซนตส์") ในธงชาติโปรตุเกส ซึ่งนำมาประดับไว้ในเสื้อตั้งแต่ยุคทศวรรษที่ 70 หมายถึงธงชาติโปรตุเกส หรือสัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับเบเซนตส์เหล่านี้
  2. http://www.abola.pt/nnh/ver.aspx?id=208811
  3. "อุ่นเดือด!โด้นำฝอยทองโป้ง,ตราไก่ใช้ป็อกบาจิก". สยามกีฬา. 4 September 2015. สืบค้นเมื่อ 31 May 2016.
  4. 4.0 4.1 หน้า 13 กีฬา, โปรตุเกส หากท็อปอฟร์มมีลุ้นถึงแชมป์ โดย ทีมข่าวกีฬา. "ตะลุยยูโร". เดลินิวส์ฉบับที่ 24,321: วันอาทิตย์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 7 ปีวอก

แหล่งข้อมูลอื่น