ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐปีนัง"

พิกัด: 5°24′N 100°14′E / 5.400°N 100.233°E / 5.400; 100.233
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
อะไร
บรรทัด 78: บรรทัด 78:
}}
}}


'''ปูเลาปีนัง''' ({{lang-ms|Pulau Pinang}}) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธรัฐ[[ประเทศมาเลเซีย|มาเลเซีย]] เดิมชาวมาเลย์รุ่นแรกเรียกว่า '''ปูเลาวาซาตู''' หรือเกาะเดี่ยว ต่อมาพบในแผนที่เดินเรือ เรียกว่า '''ปูเลาปีนัง''' หรือเกาะหมาก ต่อมา[[อังกฤษ]]เรียกว่า '''เกาะพรินซ์ออฟเวลส์''' <ref>ในอดีตเกาะปี นังเป็นส่วนหนึ่งของรัฐเกดะห์ต่อมาในปี ค.ศ.1700 อังกฤษซึ่งแสวงหาท่าเรือสินค้าสำหรับใช้เป็นทักจอดรับเสบียงในการค้าขายระหว่างอินเดียกและจีนได้ส่ง Captain Francis Light มาขอเช่าเกาะปีนังจากสุลต่านแห่งรัฐเคดะห์โดยแลกกับ
'''ปูเลาปีนัง''' ({{lang-ms|Pulau Pinang}}) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธรัฐ[[ประเทศมาเลเซีย|มาเลเซีย]] เดิมชาวมาเลย์รุ่นแรกเรียกว่า '''ปูเลาวาซาตู''' หรือเกาะเดี่ยว ต่อมาพบในแผนที่เดินเรือ เรียกว่า '''ปูเลาปีนัง''' หรือเกาะหมาก ต่อมา[[อังกฤษ]]เรียกว่า '''เกาะพรินซ์ออฟเวลส์'''
การทีอังกฤษจะให้ความช่วยเหลือด้านการทหารแก่รัฐเกดะห์ในกรณีที่ถูกคุกคามจากต่างชาติ อย่างไรก็ดี เมื่อไทยโดยเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชเข้ามาตีดินแดนทางใต้ ทางรัฐเคดะห์ ก็ได้รวม เปอร์ลิส เคดะห์ กลันตัน ตรังกานู และปี นัง เข้าเป็นประเทศราชของไทย
โดยไทยได้เรียกเคดะห์และปีนังว่าเมืองไทรบุรี โดยอังกฤษก็ไม่ได้ขัดขวางไทยและไม่ได้ช่วยคุ้มครองเคดะห์เพราะอังกฤษก็ต้องการท่จีะครอบครองเกาะมะละกาอยู่แล้วต่อมาปีค.ศ.1909 ไทยได้ทาสนธิสัญญากับอังกฤษให้ไทยยินยอมยกเมืองปีนังและเมืองขึ้นอื่นๆบนเกาะมะละกาให้กับอังกฤษ
และใช้ปีนังเป็นเมืองท่าขนส่งสินค้าระหว่างอินเดียกับจีน อย่างไรก็ดีสิ่งที่ยังหลงเหลืออยู่คือ มีชาวมาเลย์ เชื้อสายไทย ซึ่งมีบรรพบุรุษเป็นคนไทยในอดีตอาศัยอยู่ในรัฐต่างๆในแถบตอนเหนือของมาเลเซีย ท่เีรียกตัวเองว่า “ชาวสยาม” (Siamese) โดยมีจำนวนมากกว่า60,000 คน และยังคงรู้สึกว่าเป็นคนไทย พูดและใช้ภาษาไทย นับถือศาสนาพุทธ และยังคงรักษาธรรมเนียมประเพณีไทยไว้ได้อย่างดี ในช่วงสงครามโลกคร้ังท่ี2 ปีนังได้ตกอยู่ใต้ความคุ้มครองของญ่ีปุ่นเป็นเวลากว่า 3 ปีและเม่ือญ่ีปุ่นแพ้สงคราม มาเลเซียกก็ลับไปเป็น
อาณานิคมของอังกฤษ จนกระทั่งปี ค.ศ. 1957 อังกฤษจึงได้ให้เอกราชโดยสมบูรณ์แก่มะละกาหรือประเทศมาเลเซียในปัจจุบัน</ref>


== ภูมิศาสตร์ ==
== ภูมิศาสตร์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:32, 31 พฤษภาคม 2559

ปีนัง
รัฐ
ปูเลาปีนัง ปูเลามูตียารา
(Pulau Pinang Pulau Mutiara)
ธงของปีนัง
ธง
ตราราชการของปีนัง
ตราอาร์ม
สมญา: 
ไข่มุกแห่งบูรพาทิศ
คำขวัญ: 
Bersatu dan Setia
(สามัคคีและภักดี)
Let Penang Lead (ไม่เป็นทางการ)[1]
เพลง: อุนตุก์ นกรี กีตา
(เพื่อรัฐของเรา)
   พื้นที่ รัฐปีนัง ใน    ประเทศมาเลเซีย
   พื้นที่ รัฐปีนัง ใน    ประเทศมาเลเซีย
พิกัด: 5°24′N 100°14′E / 5.400°N 100.233°E / 5.400; 100.233
เมืองหลวงจอร์จทาวน์
การปกครอง
 • ผู้ว่าการรัฐอับดุล ระห์มัน อับบัส
 • มุขมนตรีลิ้ม กวนเอง
พื้นที่[2]
 • ทั้งหมด1,048 ตร.กม. (405 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2010)[3]
 • ทั้งหมด1,520,143 คน
 • ความหนาแน่น1,500 คน/ตร.กม. (3,800 คน/ตร.ไมล์)
ดัชนีการพัฒนามนุษย์
 • HDI (2010)0.773 (สูง)
เขตเวลาUTC+8 (MST)
รหัสไปรษณีย์10xxx–14xxx
รหัสโทรศัพท์+604
ทะเบียนพาหนะP
อังกฤษเข้ายึดครอง11 สิงหาคม พ.ศ. 2329
ญี่ปุ่นเข้ายึดครอง19 ธันวาคม พ.ศ. 2484
เข้าร่วมสหพันธรัฐมาลายา31 มกราคม พ.ศ. 2491
รับเอกราชจากสหราชอาณาจักร31 สิงหาคม พ.ศ. 2500
เว็บไซต์www.penang.gov.my

ปูเลาปีนัง (มลายู: Pulau Pinang) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธรัฐมาเลเซีย เดิมชาวมาเลย์รุ่นแรกเรียกว่า ปูเลาวาซาตู หรือเกาะเดี่ยว ต่อมาพบในแผนที่เดินเรือ เรียกว่า ปูเลาปีนัง หรือเกาะหมาก ต่อมาอังกฤษเรียกว่า เกาะพรินซ์ออฟเวลส์

ภูมิศาสตร์

รัฐปีนังประกอบด้วยพื้นที่ 2 ส่วน ได้แก่ เกาะปีนัง ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากแผ่นดินใหญ่ทางชายฝั่งตะวันตกของประเทศ และเป็นที่ตั้งของจอร์จทาวน์ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐ และเซเบอรังเปอไร (สมารังไพร) ซึ่งตั้งอยู่บนชายฝั่ง

ประชากร

รัฐปีนังเป็นเขตการปกครองเพียงแห่งเดียวของมาเลเซียที่มีประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวจีน โดยมีอัตราส่วนของประชากรเชื้อสายจีนประมาณร้อยละ 41.72 มากกว่าประชากรเชื้อสายมลายูซึ่งมีอัตราส่วนประมาณร้อยละ 41.33[4]

ศาสนา

สถิติจำนวนผู้นับถือศาสนาต่างๆ ของรัฐปีนัง ในปี 2010[5]
ศาสนา ร้อยละ
อิสลาม
  
45%
พุทธ
  
36%
ฮินดู
  
9%
คริสต์
  
5%
ศาสนาพื้นบ้านของจีน
  
4.6%
อื่นๆ
  
1%
อศาสนา
  
0.4%

As of 2010 the population of Penang is

This reflects Penang's diverse ethnic and socio-cultural amalgamation. There was also a tiny and little-known community of Jews in Penang, mainly along Jalan Zainal Abidin (formerly Jalan Yahudi or Jewish Street).[8] The last known native Jew died in 2011, rendering the centuries-old Jewish community in Penang effectively extinct.[9][10]

อ้างอิง

  1. "Journal of the parliaments of the Commonwealth". Journal of the Parliaments of the Commonwealth. Commonwealth Parliamentary Association, General Council. 34. 1953.
  2. "Laporan Kiraan Permulaan 2010". Jabatan Perangkaan Malaysia. p. 27. สืบค้นเมื่อ 2011-01-24.
  3. "Laporan Kiraan Permulaan 2010". Jabatan Perangkaan Malaysia. p. iv. สืบค้นเมื่อ 2011-01-24.
  4. "Penang Statistics (Quarter 1, 2008)" (PDF). Socio-Economic & Environmental Research Institute. 2008. สืบค้นเมื่อ 2008-07-19.
  5. "2010 Population and Housing Census of Malaysia" (PDF). Department of Statistics, Malaysia. สืบค้นเมื่อ 17 June 2012. p. 13
  6. Drukpa Penang, Druk Tharpa Choling. Drukpa.org.my. Retrieved on 11 August 2011.
  7. "Penang Samye Buddhist Society « Vajrayana Malaysia Centre Directory". Vajrayana Malaysia Centre Directory. สืบค้นเมื่อ 13 September 2014.
  8. Raimy Ché-Ross (April 2002). "A Penang Kaddish: The Jewish Cemetery in Georgetown – A case study of the Jewish Diaspora in Penang (1830s–1970s)" (Word Document). The Penang Story – International Conference 2002. สืบค้นเมื่อ 28 June 2008. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  9. [1][ลิงก์เสีย]
  10. "Archived text of NST news article: "Uncle Mordy laid to rest". New Straits Times, 18 July 2011. Retrieved 5 December 2013". สืบค้นเมื่อ 13 September 2014.