ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลกสภา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''โลกสภา''' ({{lang-roman|Lok Sabha}}; {{lang-hi|लोकसभा ''Lōkasabhā''}}) หรือ "สภาของประชาชน" เป็น[[สภาล่าง]]ของ[[รัฐสภาแห่งอินเดีย]] ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งอินเดีย]]กำหนดให้สมาชิกโลกสภามีจำนวนไม่เกินห้าร้อยห้าสิบสองคน ไม่เกินยี่สิบคนในจำนวนนี้เป็นผู้แทนจาก[[สหภาพดินแดนแห่งประเทศอินเดีย|สหภาพดินแดน]]ต่าง ๆ ของ[[ประเทศอินเดีย]] และสองคนเป็นผู้แทนจากประชาคม[[แองโกลอินเดีย]]
'''โลกสภา''' ({{lang-roman|Lok Sabha}}; {{lang-hi|लोकसभा ''Lōkasabhā''}}) หรือ "สภาของประชาชน" เป็น[[สภาล่าง]]ของ[[รัฐสภาแห่งอินเดีย]] ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งอินเดีย]]กำหนดให้สมาชิกโลกสภามีจำนวนไม่เกินห้าร้อยห้าสิบสองคน ไม่เกินยี่สิบคนในจำนวนนี้เป็นผู้แทนจาก[[สหภาพดินแดนแห่งประเทศอินเดีย|สหภาพดินแดน]]ต่าง ๆ ของ[[ประเทศอินเดีย]] และสองคนเป็นผู้แทนจากประชาคม[[แองโกลอินเดีย]]


โลกสภามีอายุห้าปี หลังจากนั้นจะสิ้นสุดลงโดยอัตโนมัติ แต่อาจมีการขยายระยะเวลาได้ตาม[[รัฐกำหนด]]ที่รัฐบาลออก ปัจจุบันโลกสภาจัดตั้งขึ้นเป็นครั้งที่สิบห้าเมื่อ [[พ.ศ. 2546]]
สมัยประชุมแต่ละสมัยของโลกสภามีอายุห้าปี หลังจากนั้นจะสิ้นสุดลงโดยอัตโนมัติ เพื่อให้มีการเลือกตั้งใหม่ แต่อาจมีการขยายระยะเวลาของสมัยประชุมออกไปได้ตาม[[รัฐกำหนด]]ที่รัฐบาลอินเดียตราขึ้นเมื่อมีเหตุจำเป็น ปัจจุบันอยู่ระหว่างสมัยประชุมที่สิบหกของโลกยสภา ซึ่งเริ่มต้นเปิดสมัยประชุมมาตั้งแต่หลังการเลือกตั้งทั่วไปในอินเดีย เมื่อเดือนพฤษภาคม [[พ.ศ. 2557]]


โลกสภา มีความแตกต่างจาก [[ราชยสภา]] หรือสภาสูงของรัฐสภาแห่งอินเดีย ที่โลกสภาสามารถถูกยุบสภาได้ตามระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบเวสต์มินสเตอร์ แต่จะไม่มีการยุบราชยสภา อย่างไรก็ดี ประธานาธิบดีอินเดียมีอำนาจที่จะสั่งการให้ระงับสมัยประชุมของโลกสภาและราชยสภาได้ทั้งคู่
โลกสภา มีความแตกต่างจาก [[ราชยสภา]] หรือสภาสูงของรัฐสภาแห่งอินเดีย ที่โลกสภาสามารถถูกยุบสภาได้ตามระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบเวสต์มินสเตอร์ แต่จะไม่มีการยุบราชยสภา อย่างไรก็ดี ประธานาธิบดีอินเดียมีอำนาจที่จะสั่งการให้ระงับสมัยประชุมของโลกสภาและราชยสภาได้ทั้งคู่ นอกจากนั้น สมัยประชุมของโลกยสภาก็มีการเปิดขึ้นและปิดสมัยประชุมไปเป็นระยะตามวงรอบทุกห้าปี แต่ราชยสภาเปิดสมัยประชุมต่อเนื่องตลอดเวลา


โลกสภาและราชยสภาบริหารอำนาจนิติบัญญัติร่วมกัน โดยมีอำนาจหน้าที่เท่าเทียมกันในการตรากฏหมายและพิจารณาร่างกฏหมาย (ยกเว้นประเด็นที่เกี่ยวกับงบประมาณ เป็นอำนาจหน้าที่โดยตรงของโลกสภา มิใช่ราชยสภา) ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านนิติบัญญัติ ปัญหาดังกล่าวนี้จะได้รับการตัดสินโดยที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาแห่งอินเดีย แต่โดยที่โลกสภามีสมาชิกมากกว่าราชยสภาถึงสองเท่า จึงนับว่าโลกสภามีอำนาจมากกว่าในการประชุมร่วมกันดังกล่าว อย่างไรก็ดี การประชุมร่วมกันของสภาทั้งสองที่ประกอบขึ้นมาเป็นรัฐสภาอินเดียมีน้อยครั้งมาก ในประวัติศาสตร์ตั้งแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐอินเดียจนถึงปัจจุบัน มีการประชุมร่วมเช่นว่านั้นเพียงสามครั้งเท่านั้น
โลกสภาและราชยสภาบริหารอำนาจนิติบัญญัติร่วมกัน โดยมีอำนาจหน้าที่เท่าเทียมกันในการเสนอและพิจารณาร่างกฏหมาย (ยกเว้นประเด็นที่เกี่ยวกับงบประมาณ เป็นอำนาจหน้าที่โดยตรงของโลกสภาที่จะพิจารณา นอกจากนั้น โลกสภายังมีอำนาจหน้าที่ที่จะประชุมอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีและรัฐบาล ซึ่งราชยสภาไม่มี) ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านนิติบัญญัติ ปัญหาดังกล่าวนี้จะได้รับการตัดสินโดยที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาแห่งอินเดีย แต่โดยที่โลกสภามีสมาชิกมากกว่าราชยสภาถึงสองเท่า จึงนับว่าโลกสภามีอำนาจมากกว่าในการประชุมร่วมกันดังกล่าว อย่างไรก็ดี การประชุมร่วมกันของสภาทั้งสองที่ประกอบขึ้นมาเป็นรัฐสภาอินเดียมีน้อยครั้งมาก ในประวัติศาสตร์ตั้งแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐอินเดียจนถึงปัจจุบัน มีการประชุมร่วมเช่นว่านั้นเพียงสามครั้งเท่านั้น


ในที่ประชุมรัฐสภา ที่นั่งและพรมทางเดินของสมาชิกโลกสภาจะเป็นสีเขียว ขณะที่ของสภาสูงหรือ[[ราชยสภา]]เป็นสีแดง
ในที่ประชุมรัฐสภา ที่นั่งและพรมทางเดินของสมาชิกโลกสภาจะเป็นสีเขียว ขณะที่ของสภาสูงหรือ[[ราชยสภา]]เป็นสีแดง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:25, 22 พฤษภาคม 2559

โลกสภา (อักษรโรมัน: Lok Sabha; [लोकसभा Lōkasabhā] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) หรือ "สภาของประชาชน" เป็นสภาล่างของรัฐสภาแห่งอินเดีย ตามรัฐธรรมนูญแห่งอินเดียกำหนดให้สมาชิกโลกสภามีจำนวนไม่เกินห้าร้อยห้าสิบสองคน ไม่เกินยี่สิบคนในจำนวนนี้เป็นผู้แทนจากสหภาพดินแดนต่าง ๆ ของประเทศอินเดีย และสองคนเป็นผู้แทนจากประชาคมแองโกลอินเดีย

สมัยประชุมแต่ละสมัยของโลกสภามีอายุห้าปี หลังจากนั้นจะสิ้นสุดลงโดยอัตโนมัติ เพื่อให้มีการเลือกตั้งใหม่ แต่อาจมีการขยายระยะเวลาของสมัยประชุมออกไปได้ตามรัฐกำหนดที่รัฐบาลอินเดียตราขึ้นเมื่อมีเหตุจำเป็น ปัจจุบันอยู่ระหว่างสมัยประชุมที่สิบหกของโลกยสภา ซึ่งเริ่มต้นเปิดสมัยประชุมมาตั้งแต่หลังการเลือกตั้งทั่วไปในอินเดีย เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557

โลกสภา มีความแตกต่างจาก ราชยสภา หรือสภาสูงของรัฐสภาแห่งอินเดีย ที่โลกสภาสามารถถูกยุบสภาได้ตามระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบเวสต์มินสเตอร์ แต่จะไม่มีการยุบราชยสภา อย่างไรก็ดี ประธานาธิบดีอินเดียมีอำนาจที่จะสั่งการให้ระงับสมัยประชุมของโลกสภาและราชยสภาได้ทั้งคู่ นอกจากนั้น สมัยประชุมของโลกยสภาก็มีการเปิดขึ้นและปิดสมัยประชุมไปเป็นระยะตามวงรอบทุกห้าปี แต่ราชยสภาเปิดสมัยประชุมต่อเนื่องตลอดเวลา

โลกสภาและราชยสภาบริหารอำนาจนิติบัญญัติร่วมกัน โดยมีอำนาจหน้าที่เท่าเทียมกันในการเสนอและพิจารณาร่างกฏหมาย (ยกเว้นประเด็นที่เกี่ยวกับงบประมาณ เป็นอำนาจหน้าที่โดยตรงของโลกสภาที่จะพิจารณา นอกจากนั้น โลกสภายังมีอำนาจหน้าที่ที่จะประชุมอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีและรัฐบาล ซึ่งราชยสภาไม่มี) ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านนิติบัญญัติ ปัญหาดังกล่าวนี้จะได้รับการตัดสินโดยที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาแห่งอินเดีย แต่โดยที่โลกสภามีสมาชิกมากกว่าราชยสภาถึงสองเท่า จึงนับว่าโลกสภามีอำนาจมากกว่าในการประชุมร่วมกันดังกล่าว อย่างไรก็ดี การประชุมร่วมกันของสภาทั้งสองที่ประกอบขึ้นมาเป็นรัฐสภาอินเดียมีน้อยครั้งมาก ในประวัติศาสตร์ตั้งแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐอินเดียจนถึงปัจจุบัน มีการประชุมร่วมเช่นว่านั้นเพียงสามครั้งเท่านั้น

ในที่ประชุมรัฐสภา ที่นั่งและพรมทางเดินของสมาชิกโลกสภาจะเป็นสีเขียว ขณะที่ของสภาสูงหรือราชยสภาเป็นสีแดง