ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความทรงจำแห่งโลก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ความทรงจำแห่งโลก''''<ref>[http://www.bic.moe.go.th/th/index.php?option=com_content&view=article&id=125&Itemid=77 แผนงานความทรงจำแห่งโลก]</ref> ({{lang-en|Memory of the World}}, {{lang-fr| Mémoire du monde}}) คือแผนงานที่[[องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ]] หรือยูเนสโก กำหนดขึ้นเมื่อปี [[พ.ศ. 2535]] (ค.ศ. 1992) เพื่อมีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ และการเผยแพร่มรดกภูมิปัญญาของโลกที่บันทึกไว้เป็น'''ลายลักษณ์อักษร''' ไม่ว่าจะเป็นการบันทึกไว้ในรูปแบบใดหรือของประเทศใดก็ตาม ถือว่าเป็นแหล่งรวมความคิด ความรู้ ประสบการณ์ ที่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายทั้งในด้านของวัฒนธรรม จากสังคมในอดีตให้แก่สังคมปัจจุบัน และเพื่อที่จะสืบสานส่งต่อให้แก่สังคมในอนาคต
'''ความทรงจำแห่งโลก'''<ref>[http://www.bic.moe.go.th/th/index.php?option=com_content&view=article&id=125&Itemid=77 แผนงานความทรงจำแห่งโลก]</ref> ({{lang-en|Memory of the World}}, {{lang-fr| Mémoire du monde}}) คือแผนงานที่[[องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ]] หรือยูเนสโก กำหนดขึ้นเมื่อปี [[พ.ศ. 2535]] (ค.ศ. 1992) เพื่อมีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ และการเผยแพร่มรดกภูมิปัญญาของโลกที่บันทึกไว้เป็น'''ลายลักษณ์อักษร''' ไม่ว่าจะเป็นการบันทึกไว้ในรูปแบบใดหรือของประเทศใดก็ตาม ถือว่าเป็นแหล่งรวมความคิด ความรู้ ประสบการณ์ ที่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายทั้งในด้านของวัฒนธรรม จากสังคมในอดีตให้แก่สังคมปัจจุบัน และเพื่อที่จะสืบสานส่งต่อให้แก่สังคมในอนาคต


== วัตถุประสงค์ ==
== วัตถุประสงค์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:11, 13 พฤษภาคม 2559

ความทรงจำแห่งโลก[1] (อังกฤษ: Memory of the World, ฝรั่งเศส: Mémoire du monde) คือแผนงานที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก กำหนดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) เพื่อมีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ และการเผยแพร่มรดกภูมิปัญญาของโลกที่บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะเป็นการบันทึกไว้ในรูปแบบใดหรือของประเทศใดก็ตาม ถือว่าเป็นแหล่งรวมความคิด ความรู้ ประสบการณ์ ที่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายทั้งในด้านของวัฒนธรรม จากสังคมในอดีตให้แก่สังคมปัจจุบัน และเพื่อที่จะสืบสานส่งต่อให้แก่สังคมในอนาคต

วัตถุประสงค์

  1. เพื่ออำนวยความสะดวกในการอนุรักษ์โดยกรรมวิธีที่เหมาะสมที่สุด
  2. เพื่อช่วยเหลือให้มีการเผยแพร่เอกสารมรดกอย่างกว้างขวางที่สุด
  3. เพื่อเผยแพร่ความตระหนักในความสำคัญของเอกสารมรดกอย่างกว้างขวางทั่วโลก

หลักเกณฑ์ในการคัดเลือก

หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกเอกสารมรดก ดังต่อไปนี้ ใช้ได้ในการคัดเลือกเอกสารมรดกที่มีคุณค่าต่อประเทศ ต่อภูมิภาค และต่อโลก [2]

  1. หลักเกณฑ์ที่ 1 ความเป็นของแท้ (Authenticity)
  2. หลักเกณฑ์ที่ 2 มีความโดดเด่นและไม่อาจทดแทนได้ (Unique and Irriplaceable)
  3. หลักเกณฑ์ที่ 3 มีความสำคัญในระดับโลก ในเรื่องเวลาและอายุ (Time) สถานที่ (Place) บุคคล (People) เนื้อหาสาระแนวคิด (Subject and Theme) และ รูปแบบและวิธีเขียน (Form and Style)
  4. หลักเกณฑ์ที่ 4 ลักษณะอื่นๆ ได้แก่ ความหายาก (Rarity) ความบริบูรณ์ (Integrity) ความเสี่ยง (Threat) และโครงการบริหารจัดการ (Management plan)

สถิติ

ภูมิภาค จำนวนที่ได้รับขึ้นทะเบียน จำนวนประเทศ/องค์กร
แอฟริกา 14 9
รัฐอาหรับ 9 5
เอเชียแปซิฟิก 80 24
ยุโรปและอเมริกาเหนือ 181 39
ละตินอเมริกาและแคริบเบียน 67 25
องค์กรระหว่างประเทศ 4 4
มูลนิธิเอกชน 1 1
รวม 301 107

ประเทศไทย

สำหรับในประเทศไทย ในปัจจุบันมีคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยแผนงานความทรงจำแห่งโลกเป็นผู้ดูแลงาน

สิ่งที่ได้รับขึ้นทะเบียนแล้ว

อ้างอิง

  1. แผนงานความทรงจำแห่งโลก
  2. http://mow.thai.net/index.php?option=com_content&task=view&id=20&Itemid=38 หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกเอกสารมรดก

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น