ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วุฒิสภาญี่ปุ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 47: บรรทัด 47:
สภาชุดแรกเริ่มทำหน้าที่ในปี ค.ศ. 1950 มีสมาชิก 250 คน โดยสมาชิกแต่ละคนมีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 6 ปี และมีการจัดการเลือกตั้งทุก 3 ปี โดยระหว่างปี 1947 ถึง 1983 นั้น สมาชิกราว 100 ที่นั่ง จะมาจากการการลงคะแนนเขตแห่งชาติ (全国区 ''เซ็งโกะกุ-กุ'') ผู้ที่ได้รับเลือกในเขตแห่งชาตินี้คือผู้ที่ได้รับคะแนนเสียงจากทั้งประเทศมากเป็นอันดับที่ 1 ถึง 50 ในการเลือกตั้งแต่ละครั้ง ซึ่งการลงคะแนนด้วยระบบนี้ มีให้เห็นเป็นครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1980 ก่อนที่จะถูกแทนที่ด้วยการลงคะแนนแบบสัดส่วน (บัญชีรายชื่อ) ต่อมาภายหลังได้มีการเพิ่มสมาชิกแบบแบ่งเขตเข้ามาอีก 2 ที่นั่ง ภายหลังสหรัฐอเมริกาคืนเกาะ[[โอะกินะวะ]]ให้แก่ญี่ปุ่นในปี 1972
สภาชุดแรกเริ่มทำหน้าที่ในปี ค.ศ. 1950 มีสมาชิก 250 คน โดยสมาชิกแต่ละคนมีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 6 ปี และมีการจัดการเลือกตั้งทุก 3 ปี โดยระหว่างปี 1947 ถึง 1983 นั้น สมาชิกราว 100 ที่นั่ง จะมาจากการการลงคะแนนเขตแห่งชาติ (全国区 ''เซ็งโกะกุ-กุ'') ผู้ที่ได้รับเลือกในเขตแห่งชาตินี้คือผู้ที่ได้รับคะแนนเสียงจากทั้งประเทศมากเป็นอันดับที่ 1 ถึง 50 ในการเลือกตั้งแต่ละครั้ง ซึ่งการลงคะแนนด้วยระบบนี้ มีให้เห็นเป็นครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1980 ก่อนที่จะถูกแทนที่ด้วยการลงคะแนนแบบสัดส่วน (บัญชีรายชื่อ) ต่อมาภายหลังได้มีการเพิ่มสมาชิกแบบแบ่งเขตเข้ามาอีก 2 ที่นั่ง ภายหลังสหรัฐอเมริกาคืนเกาะ[[โอะกินะวะ]]ให้แก่ญี่ปุ่นในปี 1972


ปัจจุบัน ราขมนตรีสภามีสมาชิกทั้งหมด 252 คน มีวาระดำรงตำแหน่งคนละหกปี มากกว่าวาระของสภาผู้แทนราษรฎอยู่สองปี ราชมนตรีต้องมีอายุมากกว่า 30 ปีบริบูรณ์ มากกว่าคุณสมบัติของผู้แทนราษฎรที่กำหนดอายุไว้ที่ 25 ปีบริบูรณ์ และราชมนตรีสภาไม่สามารถถูกยุบได้ ทั้งนี้ เนื่องจากการเลือกตั้งจัดขึ้นทุก 3 ปี แต่สมาชิกมีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี ทำให้ในการเลือกตั้งแต่ละครั้ง จะเป็นการเลือกตั้งเพื่อทดแทนสมาชิกสภาราวกึ่งหนึ่งที่สิ้นสุดวาระ
ปัจจุบัน ราขมนตรีสภามีสมาชิกทั้งหมด 252 คน มีวาระดำรงตำแหน่งคนละหกปี มากกว่าวาระของสภาผู้แทนราษฎรอยู่สองปี ราชมนตรีต้องมีอายุมากกว่า 30 ปีบริบูรณ์ มากกว่าคุณสมบัติของผู้แทนราษฎรที่กำหนดอายุไว้ที่ 25 ปีบริบูรณ์ และราชมนตรีสภาไม่สามารถถูกยุบได้ ทั้งนี้ เนื่องจากการเลือกตั้งจัดขึ้นทุก 3 ปี แต่สมาชิกมีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี ทำให้ในการเลือกตั้งแต่ละครั้ง จะเป็นการเลือกตั้งเพื่อทดแทนสมาชิกสภาราวกึ่งหนึ่งที่สิ้นสุดวาระ


== สภาชุดปัจจุบัน ==
== สภาชุดปัจจุบัน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:22, 21 เมษายน 2559

ราชมนตรีสภา

参議院

ซังงีง
วุฒิสภาญี่ปุ่น
ประเภท
ประเภท
ผู้บริหาร
ประธาน
มะซะอะกิ ยะมะซะกิ
รองประธาน
อะซุมะ โคะชิอิชิ
โครงสร้าง
สมาชิก242 คน
House of Councillors Japan 2013.svg
กลุ่มการเมือง
(เมื่อ ธ.ค. 2014)

รัฐบาล (134):

  โคเม (20)

ฝ่ายค้าน (108):

  DPJ/ชินเรียวกุฟูไก (58)
  JIP (11)
  JCP (11)
  YP (10)
  PFG (7)
  ไม่สังกัด (4)
  SDP (3)
  NRP-GI (2)
  PLP (2)
การเลือกตั้ง
คู่ขนาน;
แบ่งเขต: 146 ที่นั่ง
บัญชีรายชื่อ: 96 ที่นั่ง
การเลือกตั้งครั้งล่าสุด
21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 (ครั้งที่ 23)
ที่ประชุม
Japanese diet inside.jpg
อาคารสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
แขวงชิโยะดะ โตเกียว
เว็บไซต์
ราชมนตรีสภา – เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ

ราชมนตรีสภา (ญี่ปุ่น: 参議院โรมาจิซังงิอิง) เป็นสภาสูงของสภานิติบัญญัติแห่งชาติของประเทศญี่ปุ่น เทียบเท่ากับวุฒิสภาในประเทศอื่นๆ โดยมีสภาผู้แทนราษฏรทำหน้าที่เป็นสภาล่าง

ในยุคจักรวรรดิญี่ปุ่น สภาสูงของญี่ปุ่นคือ สภาขุนนาง แต่เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นถูกควบคุมโดยสหรัฐอเมริกา โดยสหรัฐอเมริกาได้มีส่วนช่วยในการร่างรัฐธรรมนูญและปฏิรูประบบการปกครองของญี่ปุ่น รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในปี ค.ศ. 1947 ได้ระบุให้สภาสูงมาจากการเลือกตั้ง

สภาชุดแรกเริ่มทำหน้าที่ในปี ค.ศ. 1950 มีสมาชิก 250 คน โดยสมาชิกแต่ละคนมีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 6 ปี และมีการจัดการเลือกตั้งทุก 3 ปี โดยระหว่างปี 1947 ถึง 1983 นั้น สมาชิกราว 100 ที่นั่ง จะมาจากการการลงคะแนนเขตแห่งชาติ (全国区 เซ็งโกะกุ-กุ) ผู้ที่ได้รับเลือกในเขตแห่งชาตินี้คือผู้ที่ได้รับคะแนนเสียงจากทั้งประเทศมากเป็นอันดับที่ 1 ถึง 50 ในการเลือกตั้งแต่ละครั้ง ซึ่งการลงคะแนนด้วยระบบนี้ มีให้เห็นเป็นครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1980 ก่อนที่จะถูกแทนที่ด้วยการลงคะแนนแบบสัดส่วน (บัญชีรายชื่อ) ต่อมาภายหลังได้มีการเพิ่มสมาชิกแบบแบ่งเขตเข้ามาอีก 2 ที่นั่ง ภายหลังสหรัฐอเมริกาคืนเกาะโอะกินะวะให้แก่ญี่ปุ่นในปี 1972

ปัจจุบัน ราขมนตรีสภามีสมาชิกทั้งหมด 252 คน มีวาระดำรงตำแหน่งคนละหกปี มากกว่าวาระของสภาผู้แทนราษฎรอยู่สองปี ราชมนตรีต้องมีอายุมากกว่า 30 ปีบริบูรณ์ มากกว่าคุณสมบัติของผู้แทนราษฎรที่กำหนดอายุไว้ที่ 25 ปีบริบูรณ์ และราชมนตรีสภาไม่สามารถถูกยุบได้ ทั้งนี้ เนื่องจากการเลือกตั้งจัดขึ้นทุก 3 ปี แต่สมาชิกมีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี ทำให้ในการเลือกตั้งแต่ละครั้ง จะเป็นการเลือกตั้งเพื่อทดแทนสมาชิกสภาราวกึ่งหนึ่งที่สิ้นสุดวาระ

สภาชุดปัจจุบัน

(เมื่อ 29 ธันวาคม ค.ศ. 2014)[1]

กลุ่มการเมือง จำนวนสมาชิก
ปีที่หมดวาระ รวม
2016 2019
  พรรคเสรีประชาธิปไตย (จิยูมินชูโต)
49 65 114
  พรรคประชาธิปไตย และ ชินเรียวกุฟูไก (มินชุโต・ชินเรียวกุฟูไก)
41 17 58
  พรรคโคเม (โคเมโต)
9 11 20
5 6 11
  พรรคคอมมิวนิสต์ญี่ปุ่น (นิฮง เคียวซันโต)
3 8 11
  พรรคจิเซะได (จิเซะไดโนะโต)
2 5 7
  สมัชชาเสริมกำลังญี่ปุ่น (นิฮง โวะ เก็งกิ นิ ซุรุ ไก)
หรือ พรรคมินนะ (YP)
3 3 6
  คลับอิสรภาพ (มุโชะโซะกุ คลับ)
แตกออกมาจากพรรคมินนะ
2 2 4
  พรรคสังคมประชาธิปไตย (ชะไกมินชูโต・โกเก็ง เร็นโง)
2 1 3
  พรรคเรอเนสซองซ์ใหม่ และกลุ่มอิสระ (ชินโต ไคกะกุ・มุโชะโซะกุ โนะ ไค)
1 1 2
  พรรคชีวิตประชาชน (เซกะสึโนะโต)
2 0 2
  ไม่สังกัด
2 2 4
ทั้งหมด 121 121 242

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น