ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
รูปอัพเดตจากวิกิอังกฤษและลบตารางที่ไม่ถูกต้อง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Map_of_countries_by_GDP_(nominal)_in_US$.png|thumb|380px|รูปภาพแสดงการเปรียบเทียบค่า GDP ในปี 2555]]
[[File:Countries by GDP (Nominal) in 2014.svg|thumb|370px|รูปภาพแสดงการเปรียบเทียบค่า GDP ของ''[[World Bank]]''ในปี 2014.<ref name="CIA">{{cite web|url=http://databank.worldbank.org/data/download/GDP.pdf|title=GDP (Official Exchange Rate)|publisher=[[World Bank]]|accessdate=August 24, 2015}}</ref>]]


'''ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ''' ({{lang-en|gross domestic product: GDP}}) หมายถึง มูลค่าตลาดของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตในประเทศในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ โดยไม่คำนึงว่าผลผลิตนั้นจะผลิตขึ้นมาด้วยทรัพยากรของชาติใด ซึ่งคิดค้นโดย Simon Kuznets นักเศรษฐศาสตร์ชาวรัสเซีย ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ถึงมาตรฐานการครองชีพของประชากรในประเทศนั้น ๆ
'''ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ''' ({{lang-en|gross domestic product: GDP}}) หมายถึง มูลค่าตลาดของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตในประเทศในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ โดยไม่คำนึงว่าผลผลิตนั้นจะผลิตขึ้นมาด้วยทรัพยากรของชาติใด ซึ่งคิดค้นโดย Simon Kuznets นักเศรษฐศาสตร์ชาวรัสเซีย ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ถึงมาตรฐานการครองชีพของประชากรในประเทศนั้น ๆ


อย่างไรก็ตาม จีดีพี เป็นดัชนีชี้วัดผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ แต่ไม่สามารถชี้วัดคุณภาพชีวิตที่แท้จริงได้
อย่างไรก็ตาม จีดีพี เป็นดัชนีชี้วัดผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ แต่ไม่สามารถชี้วัดคุณภาพชีวิตที่แท้จริงได้

[[Image:GDP per capita (nominal) 2015.png|thumb|294px|ของประเทศแต่ละประเทศในปี 2015.<ref>Based on the IMF data. If no data was available for a country from IMF, I used WorldBank data.</ref>
{| width=100%
|-
| valign=top |
{{legend|#400000|> $64,000}}
{{legend|#a00000|$32,000 – 64,000}}
{{legend|#d00000|$16,000 – 32,000}}
{{legend|#fd2a00|$8,000 – 16,000}}
{{legend|#fe7733|$4,000 – 8,000}}
| valign=top |
{{legend|#fea933|$2,000 – 4,000}}
{{legend|#fed24c|$1,000 – 2,000}}
{{legend|#feff33|$500 – 1,000}}
{{legend|#ffffa6|< $500}}
{{legend|white|unavailable}}
|}
]]
[[ไฟล์:GDP_per_capita_PPP_2014-en.svg|thumb|300px|ค่า GDP จากการจัดอันดับของธนาคารโลกในปี 2558]]
[[File:Countries by Real GDP Growth Rate (2014).svg|thumb|300px|รายชื่อประเทศอัตราการขยายตัวของ GDP ในปี 2014]]


== การวัดผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ==
== การวัดผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ==

การวัดผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ สามารถวัดได้ 2 วิธี ได้แก่
การวัดผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ สามารถวัดได้ 2 วิธี ได้แก่


บรรทัด 34: บรรทัด 53:
'''Net Exports''' (NE) หมายถึง การส่งออกสุทธิ หรือการส่งออก (X) ลบด้วยการนำเข้า (M) นั่นเอง ที่ต้องลบการนำเข้าเพราะตัวเลขการบริโภคสินค้าและบริการที่นำเข้ามาบริโภคจะรวมไว้ใน C, I, และ G
'''Net Exports''' (NE) หมายถึง การส่งออกสุทธิ หรือการส่งออก (X) ลบด้วยการนำเข้า (M) นั่นเอง ที่ต้องลบการนำเข้าเพราะตัวเลขการบริโภคสินค้าและบริการที่นำเข้ามาบริโภคจะรวมไว้ใน C, I, และ G

[[ไฟล์:Gdp nominal and ppp 2004 world map.PNG|thumb|300px|เปรียบเทียบ ดัชนี GDP และ PPP]]

[[ไฟล์:GDP per capita (nominal) 2014.png|thumb|300px|ของประเทศแต่ละประเทศในปี 2555.<ref>Based on the IMF data. If no data was available for a country from IMF, World Bank data were used.</ref>
{| width=100%
|-
| valign=top |
{{legend|#400000|มากกว่า $129,696}}
{{legend|#800000|$64,848 – 129,696}}
{{legend|#a00000|$32,424 – 64,848}}
{{legend|#d00000|$16,212 – 32,424}}
{{legend|#fd2a00|$8,106 – 16,212}}
{{legend|#fe7733|$4,053 – 8,106}}
| valign=top |
{{legend|#fea933|$2,027 – 4,053}}
{{legend|#fed24c|$1,013 – 2,027}}
{{legend|#feff33|$507 – 1,013}}
{{legend|#ffffa6|ต่ำกว่า $507}}
{{legend|white|ไม่มีข้อมูล}}
|}
]]


== สิ่งที่ไม่นับรวมใน GDP ==
== สิ่งที่ไม่นับรวมใน GDP ==

# ไม่นับสินค้าก่อนสินค้าขั้นสุดท้าย (intermediate goods) เพราะจะทำให้เกิดการนับซ้ำ
# ไม่นับสินค้าก่อนสินค้าขั้นสุดท้าย (intermediate goods) เพราะจะทำให้เกิดการนับซ้ำ
# ไม่นับการซื้อขายสินค้ามือสอง เพราะไม่ได้เป็นการเพิ่มผลผลิตปัจจุบัน แต่นับค่าคอมมิชชั่นจากการขาย เพราะเป็นการให้บริการในช่วงเวลาปัจจุบัน
# ไม่นับการซื้อขายสินค้ามือสอง เพราะไม่ได้เป็นการเพิ่มผลผลิตปัจจุบัน แต่นับค่าคอมมิชชั่นจากการขาย เพราะเป็นการให้บริการในช่วงเวลาปัจจุบัน
# ไม่นับรายการทางการเงินและการโอนเงิน เช่น การซื้อขายหุ้น น้าโอนเงินให้หลาน เพราะไม่เป็นการผลิต
# ไม่นับรายการทางการเงินและการโอนเงิน เช่น การซื้อขายหุ้น น้าโอนเงินให้หลาน เพราะไม่เป็นการผลิต

[[ไฟล์:GDP_per_capita_PPP_2014-en.svg|thumb|300px|ค่า GDP จากการจัดอันดับของธนาคารโลกในปี 2558]]


== ข้อจำกัดของ GDP ==
== ข้อจำกัดของ GDP ==

# ไม่นับการผลิตที่ไม่ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนในตลาด เช่น ในอดีตทำกับข้าวรับประทานเองในบ้าน จึงไม่นับรวม แต่ปัจจุบันรูปแบบของการใช้ชีวิตเปลี่ยนไปทำให้ต้องรับประทานข้าวนอกบ้าน จึงนับรวม ซึ่งทำให้การเปรียบเทียบ GDP ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันให้มีความหมายลดลง
# ไม่นับการผลิตที่ไม่ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนในตลาด เช่น ในอดีตทำกับข้าวรับประทานเองในบ้าน จึงไม่นับรวม แต่ปัจจุบันรูปแบบของการใช้ชีวิตเปลี่ยนไปทำให้ต้องรับประทานข้าวนอกบ้าน จึงนับรวม ซึ่งทำให้การเปรียบเทียบ GDP ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันให้มีความหมายลดลง
# ไม่รวมผลผลิตที่ไม่ได้รับการรายงาน (underground economy) เช่น เป็นการค้าขายที่เป็นเงินสดโดยไม่มีการแจ้งให้ทางการรับทราบ เช่น บ๋อยรับทิปเป็นเงินสด คนงานทำงานโดยรับเงินสดเพื่อเลี่ยงภาษี
# ไม่รวมผลผลิตที่ไม่ได้รับการรายงาน (underground economy) เช่น เป็นการค้าขายที่เป็นเงินสดโดยไม่มีการแจ้งให้ทางการรับทราบ เช่น บ๋อยรับทิปเป็นเงินสด คนงานทำงานโดยรับเงินสดเพื่อเลี่ยงภาษี
บรรทัด 71: บรรทัด 65:
# ไม่คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพสินค้าและการเกิดขึ้นของผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ
# ไม่คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพสินค้าและการเกิดขึ้นของผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ
# ไม่คำนึงถึงผลกระทบด้านลบที่เกิดจากการผลิต บริโภค และการกระทำด้านลบของคนและธรรมชาติ
# ไม่คำนึงถึงผลกระทบด้านลบที่เกิดจากการผลิต บริโภค และการกระทำด้านลบของคนและธรรมชาติ

[[ไฟล์:Gdp real growth rate 2007 CIA Factbook.PNG|thumb|300px|รายชื่อประเทศจากการคำนวณค่า GDP ในปี 2553]]

==อันดับประเทศที่มีการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ==

{| class="wikitable sortable"
|-
!อันดับ
!colspan="'''3'''"|พ.ศ. 2557
!colspan="'''3'''"|พ.ศ. 2556
!colspan="'''3'''"|พ.ศ. 2555
!colspan="'''3'''"|พ.ศ. 2554
!colspan="'''3'''"|พ.ศ. 2553
|-
!―
|{{flagicon|World}} [[โลก]]||style="text-align:right"|74,171.718
|{{flagicon|World}} [[โลก]]||style="text-align:right"|71,707.302
|{{flagicon|World}} [[โลก]]||style="text-align:right"|70,220.553
|{{flagicon|World}} [[โลก]]<ref name="imf">{{Cite web
|url=http://www.imf.org/external/pubs/ft/weo/2013/01/weodata/weorept.aspx?sy=2008&ey=2013&scsm=1&ssd=1&sort=country&ds=.&br=1&c=512%2C941%2C914%2C446%2C612%2C666%2C614%2C668%2C311%2C672%2C213%2C946%2C911%2C137%2C193%2C962%2C122%2C674%2C912%2C676%2C313%2C548%2C419%2C556%2C513%2C678%2C316%2C181%2C913%2C682%2C124%2C684%2C339%2C273%2C638%2C921%2C514%2C948%2C218%2C943%2C963%2C686%2C616%2C688%2C223%2C518%2C516%2C728%2C918%2C558%2C748%2C138%2C618%2C196%2C522%2C278%2C622%2C692%2C156%2C694%2C624%2C142%2C626%2C449%2C628%2C564%2C228%2C283%2C924%2C853%2C233%2C288%2C632%2C293%2C636%2C566%2C634%2C964%2C238%2C182%2C662%2C453%2C960%2C968%2C423%2C922%2C935%2C714%2C128%2C862%2C611%2C716%2C321%2C456%2C243%2C722%2C248%2C942%2C469%2C718%2C253%2C724%2C642%2C576%2C643%2C936%2C939%2C961%2C644%2C813%2C819%2C199%2C172%2C184%2C132%2C524%2C646%2C361%2C648%2C362%2C915%2C364%2C134%2C732%2C652%2C366%2C174%2C734%2C328%2C144%2C258%2C146%2C656%2C463%2C654%2C528%2C336%2C923%2C263%2C738%2C268%2C578%2C532%2C537%2C944%2C742%2C176%2C866%2C534%2C369%2C536%2C744%2C429%2C186%2C433%2C925%2C178%2C869%2C436%2C746%2C136%2C926%2C343%2C466%2C158%2C112%2C439%2C111%2C916%2C298%2C664%2C927%2C826%2C846%2C542%2C299%2C967%2C582%2C443%2C474%2C917%2C754%2C544%2C698&s=NGDPD&grp=0&a=&pr.x=45&pr.y=10
|title=Nominal 2011 GDP for the world and the European Union.
|publisher=International Monetary Fund(IMF)
|accessdate=2013-5-1
}}</ref>||style="text-align:right"|63,467.755
|-
!―
|{{flagicon|สหภาพยุโรป}} [[สหภาพยุโรป]]||style="text-align:right"|17,227.735
|{{flagicon|สหภาพยุโรป}} [[สหภาพยุโรป]]||style="text-align:right"|16,584.007
|{{flagicon|สหภาพยุโรป}} [[สหภาพยุโรป]]||style="text-align:right"|17,588.535
|{{flagicon|สหภาพยุโรป}} [[สหภาพยุโรป]]<ref name="imf"/>||style="text-align:right"|16,287.710
|-
!1
|{{USA}}||style="text-align:right"|16,237.746
|{{USA}}||style="text-align:right"|15,684.750
|{{USA}}||style="text-align:right"|15,075.675
|{{USA}}||style="text-align:right"|14,498.925
|-
!2
|{{PRC}}||style="text-align:right"|9,020.309
|{{PRC}}||style="text-align:right"|8,227.037
|{{PRC}}||style="text-align:right"|7,321.986
|{{PRC}}<ref>台湾、香港、マカオを除く</ref>||style="text-align:right"|5,930.393
|-
!3
|{{JPN}}||style="text-align:right"|6,149.897
|{{JPN}}||style="text-align:right"|5,963.969
|{{JPN}}||style="text-align:right"|5,897.015
|{{JPN}}||style="text-align:right"|5,495.387
|-
!4
|{{DEU}}||style="text-align:right"|3,597.965
|{{DEU}}||style="text-align:right"|3,400.579
|{{DEU}}||style="text-align:right"|3,607.364
|{{DEU}}||style="text-align:right"|3,312.193
|-
!5
|{{FRA}}||style="text-align:right"|2,739.274
|{{FRA}}||style="text-align:right"|2,608.699
|{{FRA}}||style="text-align:right"|2,778.085
|{{FRA}}||style="text-align:right"|2,570.592
|-
!6
|{{BRA}}||style="text-align:right"|2,456.663
|{{GBR}}||style="text-align:right"|2,440.505
|{{BRA}}||style="text-align:right"|2,492.907
|{{GBR}}||style="text-align:right"|2,267.482
|-
!7
|{{GBR}}||style="text-align:right"|2,422.921
|{{BRA}}||style="text-align:right"|2,395.968
|{{GBR}}||style="text-align:right"|2,431.530
|{{BRA}}||style="text-align:right"|2,142.926
|-
!8
|{{RUS}}||style="text-align:right"|2,213.567
|{{RUS}}||style="text-align:right"|2,021.960
|{{ITA}}||style="text-align:right"|2,196.334
|{{ITA}}||style="text-align:right"|2,059.187
|-
!9
|{{ITA}}||style="text-align:right"|2,076.006
|{{ITA}}||style="text-align:right"|2,014.079
|{{RUS}}||style="text-align:right"|1,899.056
|{{CAN}}||style="text-align:right"|1,616.018
|-
!10
|{{IND}}||style="text-align:right"|1,972.844
|{{IND}}||style="text-align:right"|1,824.832
|{{IND}}||style="text-align:right"|1,838.166
|{{IND}}||style="text-align:right"|1,614.834

<!--|-
!***
|[[]]||style="text-align:right"|***-->
|}

== อ้างอิง ==
* สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. "หน่วยที่ 9 รายได้ประชาชาติและการวัดรายได้ประชาชาติ". ''เอกสารการสอนชุดวิชาหลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น หน่วยที่ 9-15''. พิมพ์ครั้งที่ 20. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553. หน้า 1–35. ISBN 974-614-549-5
*https://en.wikipedia.org/wiki/Gross_domestic_product



== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 176: บรรทัด 70:
* [[รายชื่อประเทศเรียงตามมูลค่าการนำเข้า|รายชื่อประเทศเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (อำนาจซื้อ)]]
* [[รายชื่อประเทศเรียงตามมูลค่าการนำเข้า|รายชื่อประเทศเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (อำนาจซื้อ)]]
* [[รายชื่อประเทศเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด)]]
* [[รายชื่อประเทศเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด)]]

==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
* สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. "หน่วยที่ 9 รายได้ประชาชาติและการวัดรายได้ประชาชาติ". ''เอกสารการสอนชุดวิชาหลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น หน่วยที่ 9-15''. พิมพ์ครั้งที่ 20. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553. หน้า 1–35. ISBN 974-614-549-5
*https://en.wikipedia.org/wiki/Gross_domestic_product


[[หมวดหมู่:เศรษฐศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:เศรษฐศาสตร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:18, 7 เมษายน 2559

รูปภาพแสดงการเปรียบเทียบค่า GDP ของWorld Bankในปี 2014.[1]

ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (อังกฤษ: gross domestic product: GDP) หมายถึง มูลค่าตลาดของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตในประเทศในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ โดยไม่คำนึงว่าผลผลิตนั้นจะผลิตขึ้นมาด้วยทรัพยากรของชาติใด ซึ่งคิดค้นโดย Simon Kuznets นักเศรษฐศาสตร์ชาวรัสเซีย ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ถึงมาตรฐานการครองชีพของประชากรในประเทศนั้น ๆ

อย่างไรก็ตาม จีดีพี เป็นดัชนีชี้วัดผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ แต่ไม่สามารถชี้วัดคุณภาพชีวิตที่แท้จริงได้

ของประเทศแต่ละประเทศในปี 2015.[2]
  > $64,000
  $32,000 – 64,000
  $16,000 – 32,000
  $8,000 – 16,000
  $4,000 – 8,000
  $2,000 – 4,000
  $1,000 – 2,000
  $500 – 1,000
  < $500
  unavailable
ค่า GDP จากการจัดอันดับของธนาคารโลกในปี 2558
รายชื่อประเทศอัตราการขยายตัวของ GDP ในปี 2014

การวัดผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

การวัดผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ สามารถวัดได้ 2 วิธี ได้แก่

1. การวัดรายจ่าย (Expenditure Approach) ที่จ่ายให้สินค้าและบริการขั้นสุดท้าย

GDP = รายจ่ายเพื่อบริโภค + รายจ่ายเพื่อการลงทุน + รายจ่ายของรัฐบาล + รายจ่ายสุทธิของต่างประเทศที่ซื้อสินค้าผลิตในประเทศ

หรือ GDP = Consumption + Investment + Government spending + (exports – imports)

2. การวัดรายได้ (Resource Cost - Income Approach) ที่ได้จากการขายสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย

GDP = ค่าจ้างและเงินเดือนลูกจ้าง + รายได้เจ้าของธุรกิจส่วนตัว + กำไรของบริษัท (รายได้ผู้ถือหุ้น) + ดอกเบี้ย (รายได้เจ้าหนี้) + ค่าเช่า (รายได้เจ้าของสินทรัพย์) + ภาษีธุรกิจทางอ้อม + ค่าเสื่อมราคา + รายได้สุทธิของคนต่างชาติในประเทศ

หมายเหตุ: ภาษีทางอ้อมคือภาษีที่เรียกเก็บจากสินค้าหรือบริการโดยผู้ที่มีหน้าที่ชำระภาษีโดยตรง (ผู้เสียภาษีคนแรก) สามารถผลักภาระภาษีไปให้บุคคลอื่นได้ เช่น ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร ภาษีมูลค่าเพิ่ม

เนื่องจากวิธีการวัด GDP ด้วยรายจ่ายเป็นวิธีที่พื้นฐานที่สุดในการวัดและเข้าใจ GDP ดังนั้น จะอธิบายตัวแปรในสมการที่คำนวณ GDP ด้วยการวัดรายจ่ายเท่านั้น ดังต่อไปนี้

GDP = C + I + G + NE หรือ C + I + G + (X - M)

Consumption (C) หมายถึง การบริโภคภาคเอกชน (Private consumption) ซึ่งรวมค่าใช้จ่ายส่วนบุคคลแทบทั้งหมดเช่น อาหาร ค่าเช่า ค่ายา แต่ไม่รวมการซื้อบ้านหลังใหม่

Investment (I) หมายถึง การลงทุนของธุรกิจในสินค้าทุน เช่น การก่อสร้างเหมืองแร่ใหม่ การซื้อซอฟต์แวร์ การซื้ออุปกรณ์เครื่องจักรสำหรับโรงงาน เป็นต้น การใช้จ่ายโดยครัวเรือนเพื่อซื้อบ้านหลังใหม่รวมไว้ในการลงทุนเช่นกัน ทว่า การซื้อผลิตภัณฑ์ทางการเงินเช่น การซื้อหุ้นสามัญหรือหุ้นกู้ ไม่จัดว่าเป็นการลงทุนแต่เป็นการออม (Saving) จึงไม่รวมใน GDP เพราะเป็นเพียงการสับเปลี่ยนเอกสารทางกฎหมายเท่านั้น ซึ่งเงินนั้นไม่ได้แปลงให้กลายเป็นสินค้าหรือบริการ จึงไม่เป็นส่วนหนึ่งของเศรษฐกิจที่แท้จริง และจัดให้เป็นรายจ่ายประเภทเงินโอน (Transfer payment)

หมายเหตุ: ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยสุทธิของภาคการเงินเท่านั้นที่มองว่าเป็นการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่ม จึงรวมไว้ใน GDP

Government Spending (G) หมายถึง ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของรัฐบาลที่ใช้ซื้อสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ซึ่งรวมถึงเงินเดือนของข้าราชการ การซื้ออาวุธทางทหาร และค่าใช้จ่ายลงทุนของรัฐ แต่ไม่รวมรายจ่ายประเภทโอนเงินอย่างเช่น สวัสดิการสังคมหรือผลประโยชน์จากการว่างงาน

Net Exports (NE) หมายถึง การส่งออกสุทธิ หรือการส่งออก (X) ลบด้วยการนำเข้า (M) นั่นเอง ที่ต้องลบการนำเข้าเพราะตัวเลขการบริโภคสินค้าและบริการที่นำเข้ามาบริโภคจะรวมไว้ใน C, I, และ G

สิ่งที่ไม่นับรวมใน GDP

  1. ไม่นับสินค้าก่อนสินค้าขั้นสุดท้าย (intermediate goods) เพราะจะทำให้เกิดการนับซ้ำ
  2. ไม่นับการซื้อขายสินค้ามือสอง เพราะไม่ได้เป็นการเพิ่มผลผลิตปัจจุบัน แต่นับค่าคอมมิชชั่นจากการขาย เพราะเป็นการให้บริการในช่วงเวลาปัจจุบัน
  3. ไม่นับรายการทางการเงินและการโอนเงิน เช่น การซื้อขายหุ้น น้าโอนเงินให้หลาน เพราะไม่เป็นการผลิต

ข้อจำกัดของ GDP

  1. ไม่นับการผลิตที่ไม่ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนในตลาด เช่น ในอดีตทำกับข้าวรับประทานเองในบ้าน จึงไม่นับรวม แต่ปัจจุบันรูปแบบของการใช้ชีวิตเปลี่ยนไปทำให้ต้องรับประทานข้าวนอกบ้าน จึงนับรวม ซึ่งทำให้การเปรียบเทียบ GDP ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันให้มีความหมายลดลง
  2. ไม่รวมผลผลิตที่ไม่ได้รับการรายงาน (underground economy) เช่น เป็นการค้าขายที่เป็นเงินสดโดยไม่มีการแจ้งให้ทางการรับทราบ เช่น บ๋อยรับทิปเป็นเงินสด คนงานทำงานโดยรับเงินสดเพื่อเลี่ยงภาษี
  3. ไม่รวมการพักผ่อนและต้นทุนมนุษย์ GDP สนใจแต่ผลผลิต ไม่ใส่ใจว่าคนทำงานหนักหรือนานขนาดไหนในการสร้างผลผลิต
  4. ไม่คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพสินค้าและการเกิดขึ้นของผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ
  5. ไม่คำนึงถึงผลกระทบด้านลบที่เกิดจากการผลิต บริโภค และการกระทำด้านลบของคนและธรรมชาติ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "GDP (Official Exchange Rate)" (PDF). World Bank. สืบค้นเมื่อ August 24, 2015.
  2. Based on the IMF data. If no data was available for a country from IMF, I used WorldBank data.
  • สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. "หน่วยที่ 9 รายได้ประชาชาติและการวัดรายได้ประชาชาติ". เอกสารการสอนชุดวิชาหลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น หน่วยที่ 9-15. พิมพ์ครั้งที่ 20. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553. หน้า 1–35. ISBN 974-614-549-5
  • https://en.wikipedia.org/wiki/Gross_domestic_product