ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิติตุส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut ย้ายหน้า จักรพรรดิไททัส ไปยัง ไทตุส
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ " ไทตุส" → "ทีตุส" ด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox monarch
{{Infobox monarch
| name = ไทตุส
| name =ทีตุส
| title =
| title =
| full name = ไทตุส ฟลาวิอุส ซาบินุส เวสปาเซียนุส
| full name =ทีตุส ฟลาวิอุส ซาบินุส เวสปาเซียนุส
| image = Titus of Rome.jpg
| image = Titus of Rome.jpg
| image_size = 230px
| image_size = 230px
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
|}}
|}}
{{ใช้ปีคศ|width=265px}}
{{ใช้ปีคศ|width=265px}}
'''จักรพรรดิไทตุส''' หรือ '''ไทตุส ฟลาวิอุส เวสปาเซียนุส''' ({{lang-lat|Titus Flavius Vespasianus}}) ([[30 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 39]] – [[13 กันยายน]] [[ค.ศ. 81]]) ไทตุสเป็น[[จักรพรรดิ]]แห่ง[[จักรวรรดิโรมัน]]ของ[[ราชวงศ์ฟลาเวียนุส]]องค์ที่สอง ระหว่างวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 79]] ถึงวันที่ [[13 กันยายน]] [[ค.ศ. 81]] ราชวงศ์นี้ก่อตั้งโดยพระราชบิดา[[เวสปาเซียนุส]] ซึ่งเป็นราชวงศ์ที่มีจักรพรรดิเพียงสามพระองค์ที่รวมทั้งจักรพรรดิ[[โดมิเซียนุส]]พระอนุชาผู้ครองราชย์ต่อจากไทตุส
'''จักรพรรดิไทตุส''' หรือ '''ไทตุส ฟลาวิอุส เวสปาเซียนุส''' ({{lang-lat|Titus Flavius Vespasianus}}) ([[30 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 39]] – [[13 กันยายน]] [[ค.ศ. 81]])ทีตุสเป็น[[จักรพรรดิ]]แห่ง[[จักรวรรดิโรมัน]]ของ[[ราชวงศ์ฟลาเวียนุส]]องค์ที่สอง ระหว่างวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 79]] ถึงวันที่ [[13 กันยายน]] [[ค.ศ. 81]] ราชวงศ์นี้ก่อตั้งโดยพระราชบิดา[[เวสปาเซียนุส]] ซึ่งเป็นราชวงศ์ที่มีจักรพรรดิเพียงสามพระองค์ที่รวมทั้งจักรพรรดิ[[โดมิเซียนุส]]พระอนุชาผู้ครองราชย์ต่อจากไทตุส


ก่อนที่จะขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิ ไทตุสเป็นแม่ทัพโรมันผู้มีชื่อเสียงผู้รับราชการภายใต้พระราชบิดาใน[[จังหวัดยูเดีย]] (Iudaea Province) ระหว่าง[[สงครามยิว-โรมันครั้งที่ 1]] (First Jewish-Roman War) ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 67 ถึงปี ค.ศ. 70 สงครามมายุติลงชั่วคราวเมื่อ[[จักรพรรดิเนโร]]มาเสด็จสวรรคตอย่างกะทันหันเมื่อวันที่ [[9 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 68]] เมื่อเวสเปเซียนเข้าชิงอำนาจในการเป็นพระจักรพรรดิระหว่างสมัยที่เรียกว่า[[ปีสี่จักรพรรดิ]] (Year of the Four Emperors) เมื่อเวสเปเซียนได้รับการประกาศให้เป็นพระจักรพรรดิเมื่อวันที่ [[1 กรกฎาคม]] [[ค.ศ. 69]] ไทตุสก็ได้รับมอบหมายให้ทำสงครามปราบปรามชาวยิวในยูเดียต่อให้เสร็จสิ้น ซึ่งไทตุสก็สามารถทำสำเร็จได้ในปี ค.ศ. 70 โดย[[การล้อมกรุงเยรุซาเล็ม (ค.ศ. 70)|การล้อมกรุงเยรุซาเล็ม]] และทำลายเมืองและ[[วัดที่สองแห่งกรุงกรุงเยรุซาเล็ม]] เพื่อเป็นการฉลองในความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ครั้งนี้ทางกรุงโรมก็ได้ก็สร้าง[[ประตูชัยไทตุส]] (Arch of Titus) เพื่อเป็นเกียรติให้แก่ไทตุสซึ่งยังคงตั้งอยู่ในกรุงโรมจนปัจจุบันนี้
ก่อนที่จะขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิทีตุสเป็นแม่ทัพโรมันผู้มีชื่อเสียงผู้รับราชการภายใต้พระราชบิดาใน[[จังหวัดยูเดีย]] (Iudaea Province) ระหว่าง[[สงครามยิว-โรมันครั้งที่ 1]] (First Jewish-Roman War) ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 67 ถึงปี ค.ศ. 70 สงครามมายุติลงชั่วคราวเมื่อ[[จักรพรรดิเนโร]]มาเสด็จสวรรคตอย่างกะทันหันเมื่อวันที่ [[9 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 68]] เมื่อเวสเปเซียนเข้าชิงอำนาจในการเป็นพระจักรพรรดิระหว่างสมัยที่เรียกว่า[[ปีสี่จักรพรรดิ]] (Year of the Four Emperors) เมื่อเวสเปเซียนได้รับการประกาศให้เป็นพระจักรพรรดิเมื่อวันที่ [[1 กรกฎาคม]] [[ค.ศ. 69]]ทีตุสก็ได้รับมอบหมายให้ทำสงครามปราบปรามชาวยิวในยูเดียต่อให้เสร็จสิ้น ซึ่งไทตุสก็สามารถทำสำเร็จได้ในปี ค.ศ. 70 โดย[[การล้อมกรุงเยรุซาเล็ม (ค.ศ. 70)|การล้อมกรุงเยรุซาเล็ม]] และทำลายเมืองและ[[วัดที่สองแห่งกรุงกรุงเยรุซาเล็ม]] เพื่อเป็นการฉลองในความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ครั้งนี้ทางกรุงโรมก็ได้ก็สร้าง[[ประตูชัยไทตุส]] (Arch of Titus) เพื่อเป็นเกียรติให้แก่ไทตุสซึ่งยังคงตั้งอยู่ในกรุงโรมจนปัจจุบันนี้


ระหว่างรัชสมัยการปกครองของพระราชบิดาไทตุสก็สร้างชื่อเสียงในทางที่ไม่ไคร่ดีนักในฐานะผู้บังคับบัญชา[[กองทหารรักษาพระองค์เพรทอเรียน]] (Praetorian Guard) โดยไปมีความสัมพันธ์อันเป็นที่ร่ำลือกับพระราชินีชาวยิว[[แบเรนิซ (ลูกสาวของอกริพพาที่ 1)|แบเรนิซ]] แม้ว่าเรื่องชื่อเสียงจะเป็นที่น่ากังวลอยู่บ้างแต่ไทตุสก็ขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิต่อจากพระราชบิดาด้วยความมีประสิทธิภาพ และถือว่าเป็นพระจักรพรรดิผู้มีคุณธรรมโดย[[ซูโทเนียส]] (Suetonius) และนักประวัติศาสตร์ร่วมสมัยคนอื่นๆ
ระหว่างรัชสมัยการปกครองของพระราชบิดาไทตุสก็สร้างชื่อเสียงในทางที่ไม่ไคร่ดีนักในฐานะผู้บังคับบัญชา[[กองทหารรักษาพระองค์เพรทอเรียน]] (Praetorian Guard) โดยไปมีความสัมพันธ์อันเป็นที่ร่ำลือกับพระราชินีชาวยิว[[แบเรนิซ (ลูกสาวของอกริพพาที่ 1)|แบเรนิซ]] แม้ว่าเรื่องชื่อเสียงจะเป็นที่น่ากังวลอยู่บ้างแต่ไทตุสก็ขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิต่อจากพระราชบิดาด้วยความมีประสิทธิภาพ และถือว่าเป็นพระจักรพรรดิผู้มีคุณธรรมโดย[[ซูโทเนียส]] (Suetonius) และนักประวัติศาสตร์ร่วมสมัยคนอื่นๆ


ในฐานะพระจักรพรรดิ ไทตุสมีชื่อเสียงในการสร้างสิ่งก่อสร้างสาธารณะในกรุงโรม โดยสร้าง[[สนามกีฬากลางแจ้งเฟลเวียน]] (Flavian Amphitheatre) หรือที่เรียกว่า[[โคลอสเซียม]]ที่เริ่มขึ้นในรัชสมัยของพระราชบิดาจนเสร็จ นอกจากนั้นแล้วก็ยังทรงได้ชื่อว่าเป็นพระจักรพรรดิผู้มีพระมหากรุณาธิคุณในการทรงช่วยเหลือประชาชนในเมื่อมีเหตุการณ์ร้ายเกิดขึ้นสองครั้งๆ แรกเมื่อ[[ภูเขาไฟวิสุเวียส]]ระเบิดในปี ค.ศ. 79 และครั้งที่สองเมื่อเกิดเพลิงไหม้ขึ้นในกรุงโรมในปี ค.ศ. 80
ในฐานะพระจักรพรรดิทีตุสมีชื่อเสียงในการสร้างสิ่งก่อสร้างสาธารณะในกรุงโรม โดยสร้าง[[สนามกีฬากลางแจ้งเฟลเวียน]] (Flavian Amphitheatre) หรือที่เรียกว่า[[โคลอสเซียม]]ที่เริ่มขึ้นในรัชสมัยของพระราชบิดาจนเสร็จ นอกจากนั้นแล้วก็ยังทรงได้ชื่อว่าเป็นพระจักรพรรดิผู้มีพระมหากรุณาธิคุณในการทรงช่วยเหลือประชาชนในเมื่อมีเหตุการณ์ร้ายเกิดขึ้นสองครั้งๆ แรกเมื่อ[[ภูเขาไฟวิสุเวียส]]ระเบิดในปี ค.ศ. 79 และครั้งที่สองเมื่อเกิดเพลิงไหม้ขึ้นในกรุงโรมในปี ค.ศ. 80


จักรพรรดิไทตุสครองราชย์อยู่ไม่ทันถึงสองปีก็เสด็จสวรรคตด้วยไข้เมื่อวันที่ [[13 กันยายน]] [[ค.ศ. 81]] และได้รับ[[การแต่งตั้งให้เป็นเทพ]] (Apotheosis) โดย[[สภาเซเนตโรมัน]]
จักรพรรดิไทตุสครองราชย์อยู่ไม่ทันถึงสองปีก็เสด็จสวรรคตด้วยไข้เมื่อวันที่ [[13 กันยายน]] [[ค.ศ. 81]] และได้รับ[[การแต่งตั้งให้เป็นเทพ]] (Apotheosis) โดย[[สภาเซเนตโรมัน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:21, 30 มีนาคม 2559

ทีตุส
รูปปั่นครึ่งตัวของไทตุสในกรุงโรม
จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน องค์ที่ 10
ครองราชย์23 มิถุนายน ค.ศ. 79 – 13 กันยายน ค.ศ. 81
ก่อนหน้าเวสปาเซียนุส
ถัดไปโดมิเทียนุส
ประสูติ30 ธันวาคม ค.ศ. 39(39-12-30)
โรม
สวรรคต13 กันยายน ค.ศ. 81(81-09-13) (41 ปี)
โรม
คู่อภิเษกอาร์เรซินา เทร์ทูลา
พระราชบุตรจูเลีย ฟลาเวีย
พระนามเต็ม
ทีตุส ฟลาวิอุส ซาบินุส เวสปาเซียนุส
ราชวงศ์ฟลาเวียนุส
พระราชบิดาเวสปาเซียนุส
พระราชมารดาโดมิทิลลาผู้แม่

จักรพรรดิไทตุส หรือ ไทตุส ฟลาวิอุส เวสปาเซียนุส (Titus Flavius Vespasianus) (30 ธันวาคม ค.ศ. 3913 กันยายน ค.ศ. 81)ทีตุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์ฟลาเวียนุสองค์ที่สอง ระหว่างวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 79 ถึงวันที่ 13 กันยายน ค.ศ. 81 ราชวงศ์นี้ก่อตั้งโดยพระราชบิดาเวสปาเซียนุส ซึ่งเป็นราชวงศ์ที่มีจักรพรรดิเพียงสามพระองค์ที่รวมทั้งจักรพรรดิโดมิเซียนุสพระอนุชาผู้ครองราชย์ต่อจากไทตุส

ก่อนที่จะขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิทีตุสเป็นแม่ทัพโรมันผู้มีชื่อเสียงผู้รับราชการภายใต้พระราชบิดาในจังหวัดยูเดีย (Iudaea Province) ระหว่างสงครามยิว-โรมันครั้งที่ 1 (First Jewish-Roman War) ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 67 ถึงปี ค.ศ. 70 สงครามมายุติลงชั่วคราวเมื่อจักรพรรดิเนโรมาเสด็จสวรรคตอย่างกะทันหันเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ. 68 เมื่อเวสเปเซียนเข้าชิงอำนาจในการเป็นพระจักรพรรดิระหว่างสมัยที่เรียกว่าปีสี่จักรพรรดิ (Year of the Four Emperors) เมื่อเวสเปเซียนได้รับการประกาศให้เป็นพระจักรพรรดิเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 69ทีตุสก็ได้รับมอบหมายให้ทำสงครามปราบปรามชาวยิวในยูเดียต่อให้เสร็จสิ้น ซึ่งไทตุสก็สามารถทำสำเร็จได้ในปี ค.ศ. 70 โดยการล้อมกรุงเยรุซาเล็ม และทำลายเมืองและวัดที่สองแห่งกรุงกรุงเยรุซาเล็ม เพื่อเป็นการฉลองในความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ครั้งนี้ทางกรุงโรมก็ได้ก็สร้างประตูชัยไทตุส (Arch of Titus) เพื่อเป็นเกียรติให้แก่ไทตุสซึ่งยังคงตั้งอยู่ในกรุงโรมจนปัจจุบันนี้

ระหว่างรัชสมัยการปกครองของพระราชบิดาไทตุสก็สร้างชื่อเสียงในทางที่ไม่ไคร่ดีนักในฐานะผู้บังคับบัญชากองทหารรักษาพระองค์เพรทอเรียน (Praetorian Guard) โดยไปมีความสัมพันธ์อันเป็นที่ร่ำลือกับพระราชินีชาวยิวแบเรนิซ แม้ว่าเรื่องชื่อเสียงจะเป็นที่น่ากังวลอยู่บ้างแต่ไทตุสก็ขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิต่อจากพระราชบิดาด้วยความมีประสิทธิภาพ และถือว่าเป็นพระจักรพรรดิผู้มีคุณธรรมโดยซูโทเนียส (Suetonius) และนักประวัติศาสตร์ร่วมสมัยคนอื่นๆ

ในฐานะพระจักรพรรดิทีตุสมีชื่อเสียงในการสร้างสิ่งก่อสร้างสาธารณะในกรุงโรม โดยสร้างสนามกีฬากลางแจ้งเฟลเวียน (Flavian Amphitheatre) หรือที่เรียกว่าโคลอสเซียมที่เริ่มขึ้นในรัชสมัยของพระราชบิดาจนเสร็จ นอกจากนั้นแล้วก็ยังทรงได้ชื่อว่าเป็นพระจักรพรรดิผู้มีพระมหากรุณาธิคุณในการทรงช่วยเหลือประชาชนในเมื่อมีเหตุการณ์ร้ายเกิดขึ้นสองครั้งๆ แรกเมื่อภูเขาไฟวิสุเวียสระเบิดในปี ค.ศ. 79 และครั้งที่สองเมื่อเกิดเพลิงไหม้ขึ้นในกรุงโรมในปี ค.ศ. 80

จักรพรรดิไทตุสครองราชย์อยู่ไม่ทันถึงสองปีก็เสด็จสวรรคตด้วยไข้เมื่อวันที่ 13 กันยายน ค.ศ. 81 และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเทพ (Apotheosis) โดยสภาเซเนตโรมัน

อ้างอิง

  • Jones, Brian W. (1992). The Emperor Domitian. London: Routledge. ISBN 0-415-10195-6.
  • Brian Jones (2002). Suetonius: The Flavian Emperors: A Historical Commentary. London: Bristol Classical Press. p. 91. ISBN 1-85399-613-0. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)

ข้อมูลเพิ่มเติม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ไทตุส