ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คนไร้บ้าน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supotmails (คุย | ส่วนร่วม)
→‎กลุ่มปัญหาหลัก: เพิ่มปัญหาหลัก
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Supotmails (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มรายละเอียดในการช่วยเหลือ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''คนไร้บ้าน''' หรือ '''คนเร่ร่อน'' (อังกฤษ: Homelessness) หมายถึง สภาพของบุคคล ณ ช่วงเวลาหนึ่งที่ไม่สามารถมีที่อยู่อาศัยในแบบปกติทั่วไปได้ ส่วนใหญ่จะมีอาชีพหาของเก่า  เป็นแรงงานรับจ้างรายวันทั่วไป  ค้าขายอาหาร และของมือสอง  และอื่นๆ<ref>มูลนิธิพัฒนาที่อยู่อาศัย รายงานประมวลปัญหาของคนไร้บ้าน</ref> บางส่วนเป็นผู้พิการทางจิต ในเขตกรุงเทพฯ มักพบอาศัยหลับนอนตามป้ายรถเมล์หรือสถานที่มีแสงสว่าง การแยกกลุ่มคนเหล่านี้ออกจากคนปกติได้ หลังจากเที่ยงคืนไปแล้ว ทำให้ยากในการให้การช่วยเหลือด้านอาหาร โดยปกติคนไร้บ้าน ไม่ใช่ขอทาน มักปฏิเสธการให้การช่วยเหลือ การให้การช่วยเหลือจำเป็นต้องมีลักษณะที่เป็นมิตร เนื่องจากคนไร้บ้านจะมีอาการจิตผิดปกติไม่มากก็น้อย เกิดจากความเครียดที่ต้องทนต่อสภาพแวดล้อมที่โหดร้าย ของใช้ที่จำเป็น อาทิ หมอนเล็กๆที่จะพกพาได้สะดวก ผ้าห่มบางๆ ในทางกลับกันคนไร้บ้านส่วนมากทีเดียวกลับช่วยเหลือสังคม ด้วยการ ลดปริมาณขยะ และ รีไซเคิล ช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม มีการคาดการณ์กันว่า จำนวนคนไร้บ้านในประเทศไทยน่าจะอยู่ที่ราว 30,000 คน<ref>เข้าใจและให้โอกาสคนไร้บ้าน ปิยะวรรณ เรื่องเล่าภาคี สสส. 19 มิย. 2558</ref>
'''คนไร้บ้าน''' หรือ '''คนเร่ร่อน'' (อังกฤษ: Homelessness) หมายถึง สภาพของบุคคล ณ ช่วงเวลาหนึ่งที่ไม่สามารถมีที่อยู่อาศัยในแบบปกติทั่วไปได้ ส่วนใหญ่จะมีอาชีพหาของเก่า  เป็นแรงงานรับจ้างรายวันทั่วไป  ค้าขายอาหาร และของมือสอง  และอื่นๆ<ref>มูลนิธิพัฒนาที่อยู่อาศัย รายงานประมวลปัญหาของคนไร้บ้าน</ref> บางส่วนเป็นผู้พิการทางจิต ในเขตกรุงเทพฯ มักพบอาศัยหลับนอนตามป้ายรถเมล์หรือสถานที่มีแสงสว่าง การแยกกลุ่มคนเหล่านี้ออกจากคนปกติได้ หลังจากเที่ยงคืนไปแล้ว ทำให้ยากในการให้การช่วยเหลือด้านอาหาร โดยปกติคนไร้บ้าน ไม่ใช่ขอทาน มักปฏิเสธการให้การช่วยเหลือ การให้การช่วยเหลือจำเป็นต้องมีลักษณะที่เป็นมิตร เนื่องจากคนไร้บ้านจะมีอาการจิตผิดปกติไม่มากก็น้อย เกิดจากความเครียดที่ต้องทนต่อสภาพแวดล้อมที่โหดร้าย ของใช้ที่จำเป็น อาทิ หมอนเล็กๆที่จะพกพาได้สะดวก ผ้าห่มบางๆ ควรเลือกลายและสีที่เหมาะสมกับสถานการณ์ ปกติมักเป็นสีเข้ม คนไร้บ้านไม่ใช่คนไม่มีรสนิยม ส่วนใหญ่เคยเป็นคนปกติทั่วไปมาก่อน ในทางกลับกันคนไร้บ้านส่วนมากทีเดียวกลับช่วยเหลือสังคม ด้วยการ ลดปริมาณขยะ และ รีไซเคิล ช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม มีการคาดการณ์กันว่า จำนวนคนไร้บ้านในประเทศไทยน่าจะอยู่ที่ราว 30,000 คน<ref>เข้าใจและให้โอกาสคนไร้บ้าน ปิยะวรรณ เรื่องเล่าภาคี สสส. 19 มิย. 2558</ref>


==แยกตามลักษณะการพักอาศัย==
==แยกตามลักษณะการพักอาศัย==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:49, 27 ธันวาคม 2558

'คนไร้บ้าน หรือ คนเร่ร่อน (อังกฤษ: Homelessness) หมายถึง สภาพของบุคคล ณ ช่วงเวลาหนึ่งที่ไม่สามารถมีที่อยู่อาศัยในแบบปกติทั่วไปได้ ส่วนใหญ่จะมีอาชีพหาของเก่า  เป็นแรงงานรับจ้างรายวันทั่วไป  ค้าขายอาหาร และของมือสอง  และอื่นๆ[1] บางส่วนเป็นผู้พิการทางจิต ในเขตกรุงเทพฯ มักพบอาศัยหลับนอนตามป้ายรถเมล์หรือสถานที่มีแสงสว่าง การแยกกลุ่มคนเหล่านี้ออกจากคนปกติได้ หลังจากเที่ยงคืนไปแล้ว ทำให้ยากในการให้การช่วยเหลือด้านอาหาร โดยปกติคนไร้บ้าน ไม่ใช่ขอทาน มักปฏิเสธการให้การช่วยเหลือ การให้การช่วยเหลือจำเป็นต้องมีลักษณะที่เป็นมิตร เนื่องจากคนไร้บ้านจะมีอาการจิตผิดปกติไม่มากก็น้อย เกิดจากความเครียดที่ต้องทนต่อสภาพแวดล้อมที่โหดร้าย ของใช้ที่จำเป็น อาทิ หมอนเล็กๆที่จะพกพาได้สะดวก ผ้าห่มบางๆ ควรเลือกลายและสีที่เหมาะสมกับสถานการณ์ ปกติมักเป็นสีเข้ม คนไร้บ้านไม่ใช่คนไม่มีรสนิยม ส่วนใหญ่เคยเป็นคนปกติทั่วไปมาก่อน ในทางกลับกันคนไร้บ้านส่วนมากทีเดียวกลับช่วยเหลือสังคม ด้วยการ ลดปริมาณขยะ และ รีไซเคิล ช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม มีการคาดการณ์กันว่า จำนวนคนไร้บ้านในประเทศไทยน่าจะอยู่ที่ราว 30,000 คน[2]

แยกตามลักษณะการพักอาศัย

  • ลักษณะประจำ
  • ลักษณะคนผ่านทางที่ไม่มีที่พักอาศัย

กลุ่มปัญหาหลัก

  • การไม่มีบ้านทำให้ยากลำบากในการใช้ชีวิต
  • คุณภาพอาหาร มักรับประทานแต่อาหารสำเร็จรูป
  • มีภาระค่าใช้จ่ายมากกว่าปกติ เช่นการใช้ห้องน้ำ
  • ไม่สามารถเข้าถึงสวัสดิการของรัฐ
  • ปัญหาการเจ็บป่วยเรื้อรัง
  • ปัญหาด้านอาชีพ

สภาพทางกฏหมาย

มีระบุไว้เฉพาะเด็ก ในพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก[3] “เด็กเร่ร่อน” หมายความว่า เด็กที่ไม่มีบิดามารดาหรือผู้ปกครองหรือมีแต่ไม่เลี้ยงดูหรือไม่สามารถเลี้ยงดูได้ จนเป็นเหตุให้เด็กต้องเร่ร่อนไปในที่ต่าง ๆ หรือเด็กที่มีพฤติกรรมใช้ชีวิตเร่ร่อนจนน่าจะเกิดอันตรายต่อสวัสดิภาพของตน

การดำเนินงานของภาครัฐ

  • 1. การคุ้มครองสวัสดิภาพให้ได้รับการฟื้นฟูร่างกาย จิตใจ และพัฒนาศักยภาพให้สามารถเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐาน และมีทางเลือกในการประกอบอาชีพ ซึ่งดำเนินการในบ้านมิตรไมตรี 5 แห่ง คือ กรุงเทพมหานคร นครราชสีมา เชียงใหม่ นครศรีธรรมราช และภูเก็ต 
  • 2. เสริมสร้างศักยภาพในการประกอบอาชีพ เพื่อให้มีรายได้เพียงพอสำหรับการมีที่พักอาศัยเป็นของตนเอง ซึ่งดำเนินการในบ้านสร้างโอกาส 3 แห่ง คือ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และปทุมธานี


อ้างอิง

<references>

  1. มูลนิธิพัฒนาที่อยู่อาศัย รายงานประมวลปัญหาของคนไร้บ้าน
  2. เข้าใจและให้โอกาสคนไร้บ้าน ปิยะวรรณ เรื่องเล่าภาคี สสส. 19 มิย. 2558
  3. พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๔