ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาพิมพิสารราชา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
|วันประสูติ =
|วันประสูติ =
|วันพิราลัย =
|วันพิราลัย =
|พระอิสริยยศ = [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าหลวงนครแพร่]]
|พระอิสริยยศ = [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|พระยานครแพร่]]
|พระราชบิดา =
|พระราชบิดา =
|พระบิดา = เจ้าวังขวาเฒ่า
|พระบิดา = เจ้าวังขวาเฒ่า
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
}}
}}


'''เจ้าหลวงพิมพิสาร''' ('''พิมสาร''' หรือ '''ขาเค''') ทรงเป็น[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]] องค์ที่ 21 ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระองค์ได้สืบตำแหน่งเจ้าหลวงต่อจาก [[เจ้าหลวงอินทวิชัย]]ผู้เป็นพระปิตุลาของพระองค์
'''เจ้าหลวงพิมพิสารราชา''' ('''พิมสาร''' หรือ '''ขาเค''') ทรงเป็น[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]] องค์ที่ 21 ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระองค์ได้สืบตำแหน่งเจ้าหลวงต่อจาก [[เจ้าหลวงอินทรวิชัย]]ผู้เป็นพระปิตุลาของพระองค์


==พระประวัติ==
==พระประวัติ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:30, 25 ธันวาคม 2558

พระยาพิมพิสารราชา

เจ้าพิมพิสาร
พระยานครแพร่
ครองราชย์พ.ศ. 2415พ.ศ. 2431
รัชกาลก่อนหน้าเจ้าหลวงอินทรวิชัย
รัชกาลถัดไปเจ้าหลวงพิริยเทพวงศ์
พระชายาแม่เจ้าแก้วไหลมาราชเทวี
พระนามเต็ม
เจ้าหลวงพิมพิสารราชา
พระบุตร5 พระองค์
ราชวงศ์ราชวงศ์เทพวงศ์
พระบิดาเจ้าวังขวาเฒ่า
พระมารดาแม่เจ้าปิ่นแก้ว

เจ้าหลวงพิมพิสารราชา (พิมสาร หรือ ขาเค) ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 21 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้สืบตำแหน่งเจ้าหลวงต่อจาก เจ้าหลวงอินทรวิชัยผู้เป็นพระปิตุลาของพระองค์

พระประวัติ

เจ้าหลวงพิมพิสารหรือเจ้าหลวงพิมสารราชา หรือเจ้าหลวงขาเค (พ.ศ.๒๔๑๕ – ๒๔๓๑) เป็นโอรสเจ้าปิ่นแก้ว กับเจ้าวังขวา(เฒ่า) ได้ครองราชย์สืบต่อจากเจ้าหลวงอินทรวิชัยผู้เป็นพระปิตุลา (พ.ศ.๒๔๑๕ – ๒๔๓๑) เจ้าหลวงพิมพิสาร เป็นเจ้าเมืองที่ปลูกฝังนิสัยเรื่องการประหยัด และการรู้จักประมาณตนแก่ชาวเมืองแพร่เป็นอย่างดี ดังมีเรื่องเล่ากันว่า หม้อน้ำที่ท่านตั้งไว้ข้างถนนสำหรับผู้สัญจรนั้น จะมีกระบวยใหญ่และกระบวยเล็กอย่างละ 1 อัน หากใครใช้กระบวยใหญ่ตักดื่มน้ำแล้ว เทน้ำที่เหลือทิ้ง หรือใช้กระบวยเล็กตักดื่มซ้ำเมื่อไม่อิ่ม ต่างก็โดนก๋งยิง (เป็นอาวุธที่ใช้ลูกหินขนาดเล็กเป็นกระสุนสามารถทำให้เจ็บตัวหรือเป็นแผลได้) ด้วยเหตุผลที่ว่าไม่รู้จักประมาณตนเอง หรือไม่ประหยัด นอกจากนี้เจ้าหลวงพิมพิสารยังมีกิจการค้าไม้สัก ทำรายได้เข้าเมืองแพร่นับหลายล้านบาทต่อปี ทำให้เศรษฐกิจในเมืองแพร่มีความต่อเนื่องและเป็นไปได้ดี

ชายา ราชโอรส ราชธิดา

  • เจ้าแก้วไหลมาราชเทวี (มีหลักฐานในแผ่นศิลา-จารึกที่วัดหลวง) แต่ไม่ปรากฏมีโอรส-ธิดา ด้วยกันหรือไม่
  • แม่เจ้าธิดา มีโอรส-ธิดา 4 องค์ คือ
  • แม่เจ้าไข สมรสกับ เจ้าชัยลังกา ไม่มีบุตร-ธิดา
  • แม่เจ้าเบาะ สมรสกับ เจ้าหัวหน้า มีบุตรธิดา 2 คน
1.เจ้าฟองคำ สามีไม่ทราบนาม
2.เจ้าน้อยทวงศ์ สมรสกับแม่เจ้าขันคำ

รสเข้ม(ไม่มีบุตรธิดา)

  • แม่เจ้าอินทร์ลงเหลา สมรสกับเจ้าหนานศรีทิ (เจ้านายเมืองน่าน) มีบุตรธิดา 3 คน
1.เจ้าศรีเมือง
2.แม่เจ้าฟอง บรรเลง สมรสกับนายหนานแสน บรรเลง
3.แม่เจ้าแก้ว เหลี่ยมเพชร
  • แม่เจ้าคำใย้ มีโอรส 1 องค์ คือ
  • เจ้าสุริยะจางวาง สมรส 4 ครั้ง
  • สมรสครั้งที่1 กับแม่เจ้าสุชาดา (ไม่มีบุตรธิดา)
  • สมรสครั้งที่2 กับนางฟองแก้ว มีธิดา 1 คน คือ
เจ้าบุญนำ วังซ้าย (สารศิริวงศ์)
  • สมรสครั้งที่3 กับนางเป็ง มีบุตร 1 คน คือ
เจ้าน้อย สารศิริวงศ์
  • สมรสครั้งที่4 กับนางแก้ว มีบุตร 1 คน คือ
เจ้านอยเป็ด สารศิริวงศ์

อ้างอิง