ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชายฝั่งมะละบาร์"

พิกัด: 12°01′00″N 75°17′00″E / 12.0167°N 75.2833°E / 12.0167; 75.2833
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: thumb|right|250px|หาด[[ป้อมเบคัล (Bekal Fort) รัฐเกรละ]] '''ชายฝั่งมาลาบ...
 
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:Bekalfortbeach.JPG|thumb|right|250px|หาด[[ป้อมเบคัล]] (Bekal Fort) รัฐเกรละ]]
[[ภาพ:Bekalfortbeach.JPG|thumb|right|250px|หาด[[ป้อมเบคัล]] (Bekal Fort) รัฐเกรละ]]
'''ชายฝั่งมาลาบาร์''' ({{lang-en|Malabar Coast}}) เป็นแนว[[ชายฝั่ง]][[ทะเล]]ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย วางตัวอยู่บนที่ราบ[[รัฐเกรละ]]และ[[รัฐกรณาฏกะ]] ระหว่างเทือกเขา[[กัตตะวันตก]] (Western Ghats) กับ[[ทะเลอาหรับ]].<ref name="britannica">[http://www.britannica.com/EBchecked/topic/359386/Malabar-Coast Britannica]</ref> กินพื้นที่ตั้งแต่[[รัฐกัว]]ถึงเมือง[[คันยาคูมารี]] (หรือ เคปโคโมริน) ในขณะที่ชายฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของอินเดียเรียกว่า [[ชายฝั่งโคโรมันเดล]] (Coromandel Coast)<ref>[http://xenophongroup.com/mcjoynt/suffren3.gif Map of Coromandel Coast] on a website dedicated to the East Indian Campaign (1782-1783), an offshoot of the American war of independence.</ref>
'''ชายฝั่งมาลาบาร์''' ({{lang-en|Malabar Coast}}) เป็นแนว[[ชายฝั่ง]][[ทะเล]]ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย บริเวณที่ราบ[[รัฐเกรละ]]และ[[รัฐกรณาฏกะ]] ระหว่างเทือกเขา[[กัตตะวันตก]] (Western Ghats) กับ[[ทะเลอาหรับ]]<ref name="britannica">[http://www.britannica.com/EBchecked/topic/359386/Malabar-Coast Britannica]</ref> กินพื้นที่ตั้งแต่[[รัฐกัว]]ถึงเมือง[[คันยาคูมารี]] (เดิมเรียก เคปโคโมริน) ในขณะที่ชายฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของอินเดียเรียกว่า [[ชายฝั่งโคโรมันเดล]] (Coromandel Coast)<ref>[http://xenophongroup.com/mcjoynt/suffren3.gif Map of Coromandel Coast] on a website dedicated to the East Indian Campaign (1782-1783), an offshoot of the American war of independence.</ref>


บางครั้ง ชายฝั่งมาลาบาร์ยังหมายถึงพื้นที่ชายฝั่งทั้งหมดของอินเดีย ตั้งแต่ชายฝั่ง[[คอนคัน]] (Konkan) ถึงเมืองคันยาคูมารี (Kanyakumari)<ref name="britannica" /> มีความยาวมากกว่า 845 กิโลเมตร (525 ไมล์) ตั้งแต่ชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของ[[รัฐมหาราษฏระ]] ผ่านรัฐกัวและชายฝั่งทั้งหมดของ[[รัฐเกรละ]]และ[[รัฐกรณาฏกะ]]ถึงเมืองคันยาคูมารี ทิศตะวันตกจรด[[ทะเลอาหรับ]] ทิศตะวันออกจรดเทือกเขากัตตะวันตก ทางใต้ของชายฝั่งนี้มีป่าผลัดใบที่ชุ่มชื่นที่สุดในอินเดียใต้<ref>[http://books.google.co.il/books?id=FcMrAwAAQBAJ&pg=PA109&lpg=PA109 Tipu Sultan - the Tyrant of Mysore], Sandeep Balakrishna, (Chapter 10) pg 109</ref>
บางครั้งชายฝั่งมาลาบาร์ยังหมายถึงพื้นที่ชายฝั่งทั้งหมดของอินเดีย ตั้งแต่ชายฝั่ง[[คอนคัน]] (Konkan) ถึงเมืองคันยาคูมารี (Kanyakumari)<ref name="britannica" /> มีความยาวมากกว่า 845 กิโลเมตร (525 ไมล์) ตั้งแต่ชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของ[[รัฐมหาราษฏระ]] ผ่านรัฐกัวและชายฝั่งทั้งหมดของ[[รัฐเกรละ]]และ[[รัฐกรณาฏกะ]]ถึงเมืองคันยาคูมารี ชายฝั่งแห่งนี้ทิศตะวันตกจรด[[ทะเลอาหรับ]] ทิศตะวันออกจรดเทือกเขากัตตะวันตก และทางใต้มีป่าผลัดใบที่ชุ่มชื่นที่สุดในอินเดียใต้<ref>[http://books.google.co.il/books?id=FcMrAwAAQBAJ&pg=PA109&lpg=PA109 Tipu Sultan - the Tyrant of Mysore], Sandeep Balakrishna, (Chapter 10) pg 109</ref>


ชายฝั่งมาลาบาร์มีความสำคัญมาตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นจุดทำการค้าหลักกับ[[เมโสโปเตเมีย]] [[อียิปต์]] [[กรีซ]] [[โรม]] [[เยรูซาเลม]]และ[[อาหรับ]] และยังมีเมืองท่าหลายเมือง เช่น [[โคจี]] (Kochi), [[โคซิโคเด]] (Kozhikode) และ[[คันนูร์]] (Kannur) ซึ่งเป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางการค้าของ[[มหาสมุทรอินเดีย]]มานานนับศตวรรษ<ref>[http://varnam.org/blog/2008/02/the_spicy_history_of_malabar/ The spicy history of Malabar] including a bibliography of sources on the spice trade via the Malabar coast</ref>
ชายฝั่งมาลาบาร์มีความสำคัญมาตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นจุดทำการค้าหลักกับ[[เมโสโปเตเมีย]] [[อียิปต์]] [[กรีซ]] [[โรม]] [[เยรูซาเลม]]และ[[อาหรับ]] และยังมีเมืองท่าหลายเมือง เช่น [[โคจี]] (Kochi), [[โคซิโคเด]] (Kozhikode) และ[[คันนูร์]] (Kannur) ซึ่งเป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญของ[[มหาสมุทรอินเดีย]]มานานนับศตวรรษ<ref>[http://varnam.org/blog/2008/02/the_spicy_history_of_malabar/ The spicy history of Malabar] including a bibliography of sources on the spice trade via the Malabar coast</ref>


ในสมัยศตวรรษที่ 15 [[ราชวงศ์หมิง]]ได้ให้[[เจิ้งเหอ]]นำกองเรือออกเดินทางสำรวจดินแดนต่าง ๆ ชายฝั่งมาลาบาร์เป็นจุดหนึ่งที่กองเรือจีนมักจะมาขึ้นฝั่ง<ref>{{cite book | last=Chan | first=Hok-lam | title=The Cambridge History of China, Volume 7: The Ming Dynasty, 1368–1644, Part 1 | year=1998 | publisher=Cambridge University Press | location=Cambridge | isbn=9780521243322 | chapter=The Chien-wen, Yung-lo, Hung-hsi, and Hsüan-te reigns, 1399–1435 | pages=233–236}}</ref> หลังจากนั้นไม่นาน ในปี ค.ศ. 1498 [[วัชกู ดา กามา]] [[นักสำรวจ]][[ชาวโปรตุเกส]]ได้มาขึ้นฝั่งที่เมืองคาลิคัต (Calicut; ปัจจุบันคือเมืองโคซิโคเด) และเป็นจุดเริ่มต้นของ[[การค้าเครื่องเทศ]]ของโปรตุเกสและชาติตะวันตก
ในสมัยศตวรรษที่ 15 [[ราชวงศ์หมิง]]ได้ให้[[เจิ้งเหอ]]นำกองเรือออกเดินทางสำรวจดินแดนต่าง ๆ ชายฝั่งมาลาบาร์เป็นจุดหนึ่งที่กองเรือจีนมักจะมาขึ้นฝั่ง<ref>{{cite book | last=Chan | first=Hok-lam | title=The Cambridge History of China, Volume 7: The Ming Dynasty, 1368–1644, Part 1 | year=1998 | publisher=Cambridge University Press | location=Cambridge | isbn=9780521243322 | chapter=The Chien-wen, Yung-lo, Hung-hsi, and Hsüan-te reigns, 1399–1435 | pages=233–236}}</ref> หลังจากนั้นไม่นาน ในปี ค.ศ. 1498 [[วัชกู ดา กามา]] [[นักสำรวจ]][[ชาวโปรตุเกส]]ได้มาขึ้นฝั่งที่เมืองคาลิคัต (Calicut; ปัจจุบันคือเมืองโคซิโคเด) ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของ[[การค้าเครื่องเทศ]]ของโปรตุเกสและมหาอำนาจยุโรป


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:56, 9 พฤศจิกายน 2558

หาดป้อมเบคัล (Bekal Fort) รัฐเกรละ

ชายฝั่งมาลาบาร์ (อังกฤษ: Malabar Coast) เป็นแนวชายฝั่งทะเลทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย บริเวณที่ราบรัฐเกรละและรัฐกรณาฏกะ ระหว่างเทือกเขากัตตะวันตก (Western Ghats) กับทะเลอาหรับ[1] กินพื้นที่ตั้งแต่รัฐกัวถึงเมืองคันยาคูมารี (เดิมเรียก เคปโคโมริน) ในขณะที่ชายฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของอินเดียเรียกว่า ชายฝั่งโคโรมันเดล (Coromandel Coast)[2]

บางครั้งชายฝั่งมาลาบาร์ยังหมายถึงพื้นที่ชายฝั่งทั้งหมดของอินเดีย ตั้งแต่ชายฝั่งคอนคัน (Konkan) ถึงเมืองคันยาคูมารี (Kanyakumari)[1] มีความยาวมากกว่า 845 กิโลเมตร (525 ไมล์) ตั้งแต่ชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐมหาราษฏระ ผ่านรัฐกัวและชายฝั่งทั้งหมดของรัฐเกรละและรัฐกรณาฏกะถึงเมืองคันยาคูมารี ชายฝั่งแห่งนี้ทิศตะวันตกจรดทะเลอาหรับ ทิศตะวันออกจรดเทือกเขากัตตะวันตก และทางใต้มีป่าผลัดใบที่ชุ่มชื่นที่สุดในอินเดียใต้[3]

ชายฝั่งมาลาบาร์มีความสำคัญมาตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นจุดทำการค้าหลักกับเมโสโปเตเมีย อียิปต์ กรีซ โรม เยรูซาเลมและอาหรับ และยังมีเมืองท่าหลายเมือง เช่น โคจี (Kochi), โคซิโคเด (Kozhikode) และคันนูร์ (Kannur) ซึ่งเป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญของมหาสมุทรอินเดียมานานนับศตวรรษ[4]

ในสมัยศตวรรษที่ 15 ราชวงศ์หมิงได้ให้เจิ้งเหอนำกองเรือออกเดินทางสำรวจดินแดนต่าง ๆ ชายฝั่งมาลาบาร์เป็นจุดหนึ่งที่กองเรือจีนมักจะมาขึ้นฝั่ง[5] หลังจากนั้นไม่นาน ในปี ค.ศ. 1498 วัชกู ดา กามา นักสำรวจชาวโปรตุเกสได้มาขึ้นฝั่งที่เมืองคาลิคัต (Calicut; ปัจจุบันคือเมืองโคซิโคเด) ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการค้าเครื่องเทศของโปรตุเกสและมหาอำนาจยุโรป

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Britannica
  2. Map of Coromandel Coast on a website dedicated to the East Indian Campaign (1782-1783), an offshoot of the American war of independence.
  3. Tipu Sultan - the Tyrant of Mysore, Sandeep Balakrishna, (Chapter 10) pg 109
  4. The spicy history of Malabar including a bibliography of sources on the spice trade via the Malabar coast
  5. Chan, Hok-lam (1998). "The Chien-wen, Yung-lo, Hung-hsi, and Hsüan-te reigns, 1399–1435". The Cambridge History of China, Volume 7: The Ming Dynasty, 1368–1644, Part 1. Cambridge: Cambridge University Press. pp. 233–236. ISBN 9780521243322.

แหล่งข้อมูลอื่น

12°01′00″N 75°17′00″E / 12.0167°N 75.2833°E / 12.0167; 75.2833