ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สาวิตต์ โพธิวิหค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Parnnakorn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
| death_place =
| death_place =
| party = [[พรรคประชาธิปัตย์|ประชาธิปัตย์]]
| party = [[พรรคประชาธิปัตย์|ประชาธิปัตย์]]
| spouse = นางฉลาด โพธิวิหค
| spouse =
| religion = [[พุทธ]]
| religion = [[พุทธ]]
| signature =
| signature =
บรรทัด 22: บรรทัด 22:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
สาวิตต์ โพธิวิหค เกิดวันที่ [[19 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2488]] สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากสถาบัน[[เอ็มไอที]] ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2510 จากนั้นจึงได้เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท ที่[[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]] ประเทศสหรัฐอเมริกา และปริญญาเอก ณ มหาวิทยาลัยแห่งเดียวกัน จนสำเร็จการศึกษาเป็นดุษฎีบัณฑิต ในปี พ.ศ. 2516
สาวิตต์ โพธิวิหค เกิดวันที่ [[19 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2488]] เป็นบุตรของพลอากาศเอกสวัสดิ์ และนางอุไร โพธิวิหค<ref>[http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=31205 ดร.สาวิตต์ โพธิวิหค ซุปเปอร์แมนหรืออะไรกันแน่?]</ref> สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากสถาบัน[[เอ็มไอที]] ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2510 จากนั้นจึงได้เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท ที่[[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]] ประเทศสหรัฐอเมริกา และปริญญาเอก ณ มหาวิทยาลัยแห่งเดียวกัน จนสำเร็จการศึกษาเป็นดุษฎีบัณฑิต ในปี พ.ศ. 2516

ด้านครอบครัวสมรสกับ นางฉลาด โพธิวิหค มีบุตรด้วยกัน 3 คน


== การทำงาน ==
== การทำงาน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:25, 29 ตุลาคม 2558

ดร.สาวิตต์ โพธิวิหค
รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 – 6 มกราคม พ.ศ. 2544
นายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด19 สิงหาคม พ.ศ. 2488 (78 ปี)
ประเทศไทย
ศาสนาพุทธ
พรรคการเมืองประชาธิปัตย์

ดร.สาวิตต์ โพธิวิหค อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 2 สมัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร หลายสมัย และกรรมการสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์

ประวัติ

สาวิตต์ โพธิวิหค เกิดวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2488 เป็นบุตรของพลอากาศเอกสวัสดิ์ และนางอุไร โพธิวิหค[1] สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากสถาบันเอ็มไอที ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2510 จากนั้นจึงได้เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา และปริญญาเอก ณ มหาวิทยาลัยแห่งเดียวกัน จนสำเร็จการศึกษาเป็นดุษฎีบัณฑิต ในปี พ.ศ. 2516


การทำงาน

สาวิตต์ โพธิวิหค เริ่มเข้าสู่งานการเมืองโดยการเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2519 เป็นเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม (เกษม จาติกวณิช) ในปี พ.ศ. 2520 จากนั้นได้ลงสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2535/2 เป็นครั้งแรก และได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2535-2538[2] และปี พ.ศ. 2540-2543 รวมทั้งสิ้น 2 สมัย

ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์[3]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ดร.สาวิตต์ โพธิวิหค ซุปเปอร์แมนหรืออะไรกันแน่?
  2. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๘ ราย)
  3. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
  4. ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (ชั้นต่ำกว่าสายสะพาย ชั้นสายสะพาย สมาชิกวุฒิสภา เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษร วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๗)
  5. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา รวมทั้งสิ้น ๓,๑๙๒ ราย เล่ม ๑๑๐ ตอน ๒๐๐ ง ฉบับพิเศษ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ หน้า ๑