ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนคนเดิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
*[http://www.facebook.com/pages/Tonsoong-Avenue/355701687824252 ถนนคนเดิน ต้นซุงแอฟเวนิว]
*[http://www.facebook.com/pages/Tonsoong-Avenue/355701687824252 ถนนคนเดิน ต้นซุงแอฟเวนิว]
*[[ถนนเซราะกราว]] [[จังหวัดบุรีรัมย์]]
*[[ถนนเซราะกราว]] [[จังหวัดบุรีรัมย์]]
*[[ถนนคนเดิน]] [[จังหวัดอุดรธานี]]
*[[ถนนคนเดินอุดรธานี]] [[จังหวัดอุดรธานี]]
==แนวคิด==
==แนวคิด==
แนวความคิดถนนคนเดินใน[[ประเทศไทย]]เริ่มต้นในสมัยที่ ดร.[[พิจิตต รัตตกุล]] เป็น[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] ราวปี [[พ.ศ. 2540]] และเป็นที่นิยมอย่างสูงสุด ในช่วงปี พ.ศ. 2544-2545 เกิดโครงการถนนสายวัฒนธรรมสายต่างๆ ทั่วประเทศ
แนวความคิดถนนคนเดินใน[[ประเทศไทย]]เริ่มต้นในสมัยที่ ดร.[[พิจิตต รัตตกุล]] เป็น[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] ราวปี [[พ.ศ. 2540]] และเป็นที่นิยมอย่างสูงสุด ในช่วงปี พ.ศ. 2544-2545 เกิดโครงการถนนสายวัฒนธรรมสายต่างๆ ทั่วประเทศ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:23, 22 ตุลาคม 2558

ถนนคนเดิน (อังกฤษ: Pedestrian mall) เป็นการใช้พื้นที่ถนนสำหรับการจัดกิจกรรม อาจมีการปิดการจราจรชั่วคราว หรือถาวร เพื่อให้คนเดินเท้าสามารถใช้พื้นที่ถนนในการทำกิจกรรมต่างๆได้ เช่น เป็นที่จัดงานทางด้านวัฒนธรรม การแสดง ขายสินค้า ขายอาหาร งานพาเรด ตัวอย่างถนนที่มีการจัดเป็นถนนคนเดินในกรุงเทพฯ เช่น ถนนสีลม, ถนนข้าวสาร, ถนนพระอาทิตย์, ถนนพระจันทร์, ซอยประชานฤมิตร (ตรอกข้าวหลาม), ถนนเยาวราช, ถนนราชดำเนิน, ฯลฯ นอกจากกรุงเทพแล้ว ต่างจังหวัดยังมีถนนคนเดินอีกเป็นจำนวนมาก เช่น

แนวคิด

แนวความคิดถนนคนเดินในประเทศไทยเริ่มต้นในสมัยที่ ดร.พิจิตต รัตตกุล เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ราวปี พ.ศ. 2540 และเป็นที่นิยมอย่างสูงสุด ในช่วงปี พ.ศ. 2544-2545 เกิดโครงการถนนสายวัฒนธรรมสายต่างๆ ทั่วประเทศ

รูปภาพ

แหล่งข้อมูลอื่น