ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกาะบูเว"

พิกัด: 54°25.8′S 3°22.8′E / 54.4300°S 3.3800°E / -54.4300; 3.3800
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30: บรรทัด 30:


==ประวัติศาสตร์==
==ประวัติศาสตร์==
เกาะบูเวถูกค้นพบครั้งแรกในวันที่ [[1 มกราคม]] [[ค.ศ. 1739]] โดย [[ฌอง-บาติสต์ ชาร์ลส์ บูเว เดอ โลเซน]] ซึ่งเขาทำการบันทึกพิกัดของเกาะที่คลาดเคลื่อนไปทำให้ไม่มีใครพบเห็นเกาะแห่งนี้อีกเลยจนกระทั่งปี [[ค.ศ. 1808]] มันจึงถูกค้นพบอีกครั้งโดย [[เจมส์ ลินด์ซีย์]] และครั้งนี้ก็เป็นครั้งแรกที่เกาะแห่งนี้มีมนุษย์ลงไปเหยียบย่าง ในปี [[ค.ศ. 1898]] และ[[ประเทศนอร์เวย์]]ปกครองเกาะบูเวใน[[เดือนธันวาคม]] [[ค.ศ. 1927]] ตามพระราชกฤษฎีกาเมื่อ [[27 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1930]]<ref>{{cite web |title=Bouvet Island |url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/75991/Bouvet-Island |language=อังกฤษ |publisher=ENCYCLOPÆDIA Britannica Facts matter}}</ref> แต่เกาะถูก[[ประเทศอังกฤษ]]อ้างความเป็นเจ้าของ ในปี [[ค.ศ. 1927]] แล้ว[[ประเทศนอร์เวย์]]ก็อ้างความเป็นเจ้าของเกาะแห่งนี้และอ้างสิทธิ์เหนือดินแดน[[ควีนมอดแลนด์]] ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยของดินแดน<ref name="NASA"/> จนเกิดความขัดแย้งกับ[[ประเทศอังกฤษ]] จนกระทั่งในปี [[ค.ศ. 1920]] เกาะแห่งนี้ถึงได้รับเอกราชจาก[[ประเทศอังกฤษ]]<ref>{{cite web |title=เกาะ ที่ ห่างไกลที่สุดในโลก (Bouvet Island)|url=http://wowboom.blogspot.com/2012/10/bouvet-island.html |language=ไทย |publisher=Wowboom}}</ref>
เกาะบูเวถูกค้นพบครั้งแรกในวันที่ [[1 มกราคม]] [[ค.ศ. 1739]] โดย [[ฌอง-บาติสต์ ชาร์ลส์ บูเว เดอ โลเซน]] ซึ่งเขาทำการบันทึกพิกัดของเกาะที่คลาดเคลื่อนไปทำให้ไม่มีใครพบเห็นเกาะแห่งนี้อีกเลยจนกระทั่งปี [[ค.ศ. 1808]] มันจึงถูกค้นพบอีกครั้งโดย [[เจมส์ ลินด์ซีย์]] และครั้งนี้ก็เป็นครั้งแรกที่เกาะแห่งนี้มีมนุษย์ลงไปเหยียบย่าง ในปี [[ค.ศ. 1898]] และ[[ประเทศนอร์เวย์]]ปกครองเกาะบูเวใน[[เดือนธันวาคม]] [[ค.ศ. 1927]] ตามพระราชกฤษฎีกาเมื่อ [[27 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1930]]<ref>{{cite web |title=Bouvet Island |url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/75991/Bouvet-Island |language=อังกฤษ |publisher=ENCYCLOPÆDIA Britannica Facts matter}}</ref> แต่เกาะถูก[[ประเทศอังกฤษ]]อ้างความเป็นเจ้าของ ในปี [[ค.ศ. 1927]] แล้ว[[ประเทศนอร์เวย์]]ก็อ้างความเป็นเจ้าของเกาะแห่งนี้และอ้างสิทธิ์เหนือดินแดน[[ควีนมอดแลนด์]] ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยของดินแดน<ref name="NASA"/> จนเกิดความขัดแย้งกับ[[ประเทศอังกฤษ]] จนกระทั่งในปี [[ค.ศ. 1930]] เกาะแห่งนี้ถึงได้รับเอกราชจาก[[ประเทศอังกฤษ]]<ref>{{cite web |title=เกาะ ที่ ห่างไกลที่สุดในโลก (Bouvet Island)|url=http://wowboom.blogspot.com/2012/10/bouvet-island.html |language=ไทย |publisher=Wowboom}}</ref>


==ภูมิประเทศ==
==ภูมิประเทศ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:41, 3 ตุลาคม 2558

เกาะบูเว

Bouvetøya[1] (นอร์เวย์)
Bouvet-øya[2]
ธงชาติBouvet Island
ธงชาติ
คำขวัญ(ราชสำนัก) : Alt for Norge (ทุกสิ่งเพื่อนอร์เวย์)
เพลงชาติJa, vi elsker dette landet
(ใช่แล้ว เรารักแผ่นดินนี้)

เพลงสรรเสริญพระบารมีKongesangen (สรรเสริญพระบารมี)
แผนที่แสดงตำแหน่งของเกาะบูเว (วงกลมสีแดง)
แผนที่แสดงตำแหน่งของเกาะบูเว (วงกลมสีแดง)
การปกครองราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5
เยนส์ สตูลเทนแบร์ก
พื้นที่
• รวม
49 ตารางกิโลเมตร (19 ตารางไมล์)
93%
ประชากร
• 
ไม่มี
สกุลเงินโครนนอร์เวย์ (NOK)
เขตเวลาUTC0
รหัส ISO 3166BV
โดเมนบนสุด.bv (ไม่ได้นำมาใช้)
Location of Bouvet Island

เกาะบูเว (อังกฤษ: Bouvet; นอร์เวย์: Bouvetøya) เป็นเกาะอาณานิคมของประเทศนอร์เวย์ และเป็นเกาะที่ไกลที่สุดในโลก[3] ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ที่จุดพิกัด 54°25.8′S 3°22.8′E / 54.4300°S 3.3800°E / -54.4300; 3.3800 โดยเกาะนี้เป็นเกาะที่ห่างที่สุดในโลก[4][5] เพราะห่างจากแหลมกู๊ดโฮปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 1,600 กิโลเมตร (1,000 ไมล์) และห่างจากแอนตาร์กติกาทางทิศใต้ 1,600 กิโลเมตร (994 ไมล์)[5] เกาะมีพื้นที่ 49 ตร.กม. โดยร้อยละ 93 ของเกาะปกคลุมด้วยธารน้ำแข็ง

ประวัติศาสตร์

เกาะบูเวถูกค้นพบครั้งแรกในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1739 โดย ฌอง-บาติสต์ ชาร์ลส์ บูเว เดอ โลเซน ซึ่งเขาทำการบันทึกพิกัดของเกาะที่คลาดเคลื่อนไปทำให้ไม่มีใครพบเห็นเกาะแห่งนี้อีกเลยจนกระทั่งปี ค.ศ. 1808 มันจึงถูกค้นพบอีกครั้งโดย เจมส์ ลินด์ซีย์ และครั้งนี้ก็เป็นครั้งแรกที่เกาะแห่งนี้มีมนุษย์ลงไปเหยียบย่าง ในปี ค.ศ. 1898 และประเทศนอร์เวย์ปกครองเกาะบูเวในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1927 ตามพระราชกฤษฎีกาเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1930[6] แต่เกาะถูกประเทศอังกฤษอ้างความเป็นเจ้าของ ในปี ค.ศ. 1927 แล้วประเทศนอร์เวย์ก็อ้างความเป็นเจ้าของเกาะแห่งนี้และอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนควีนมอดแลนด์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยของดินแดน[5] จนเกิดความขัดแย้งกับประเทศอังกฤษ จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1930 เกาะแห่งนี้ถึงได้รับเอกราชจากประเทศอังกฤษ[7]

ภูมิประเทศ

เกาะบูเวเป็นเกาะภูเขาไฟโดยมีหิมะและธารน้ำแข็งปกคลุมอยู่โดยมีพืชและสัตว์บางชนิดอาศัยอยู่ เช่น ไลเคน, นกเพนกวิน และแมวน้ำ[5]

ภูมิอากาศ

ข้อมูลภูมิอากาศของเกาะบูเว
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 10.2
(50.4)
10.2
(50.4)
10.6
(51.1)
7.7
(45.9)
5.6
(42.1)
5.2
(41.4)
3.8
(38.8)
5.9
(42.6)
7.3
(45.1)
8.7
(47.7)
8.3
(46.9)
10.6
(51.1)
10.6
(51.1)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 3
(37)
4
(39)
3
(37)
2
(36)
1
(34)
0
(32)
-1
(30)
-1
(30)
-1
(30)
0
(32)
1
(34)
3
(37)
1.2
(34.1)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 1
(34)
1
(34)
1
(34)
0
(32)
-1
(30)
-2
(28)
-3
(27)
-3
(27)
-3
(27)
-2
(28)
-1
(30)
0
(32)
−1
(30.2)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 0
(32)
0
(32)
0
(32)
0
(32)
-2
(28)
-4
(25)
-5
(23)
-5
(23)
-5
(23)
-3
(27)
-2
(28)
-1
(30)
−2.3
(28)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -2.6
(27.3)
-2.2
(28)
-3.2
(26.2)
-4.7
(23.5)
-9.7
(14.5)
-10.2
(13.6)
-14.8
(5.4)
-15
(5)
-18.7
(-1.7)
-15.2
(4.6)
-8.4
(16.9)
-4.1
(24.6)
−18.7
(−1.7)
แหล่งที่มา: Climate-zone [8]

Meteostats [9]

อ้างอิง

  1. "Forskrift om fredning av Bouvetøya med tilliggende territorialfarvann som naturreservat" (ภาษานอร์เวย์). Lovdata. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 May 2012. สืบค้นเมื่อ 9 May 2012. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  2. "Lov om Bouvet-øya, Peter I's øy og Dronning Maud Land m.m. (bilandsloven)" (ภาษานอร์เวย์). Lovdata. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 August 2011. สืบค้นเมื่อ 29 August 2011. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  3. "เกาะ Bouvet เกาะไร้ผู้คน เกาะที่ไกลที่สุดในโลก". Kapook.com.
  4. "Bouvet Island" (ภาษาอังกฤษ). The Encyclopedia OF EARTH.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 "Bouvet Island, South Atlantic Ocean" (ภาษาอังกฤษ). NASA.
  6. "Bouvet Island" (ภาษาอังกฤษ). ENCYCLOPÆDIA Britannica Facts matter.
  7. "เกาะ ที่ ห่างไกลที่สุดในโลก (Bouvet Island)". Wowboom.
  8. "Monthly Averages for Bouvet Island". Climate Zone. สืบค้นเมื่อ 1 January 2011.
  9. "Bouvet Island". Meteostats.