ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หิมะภาค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Cryosphere Fuller Projection.png|thumb|right|300px|ภาพมุมสูงของไครโอสเฟียร์ จาก [http://maps.grida.no/go/graphic/cryosphere UN Environment Programme Global Outlook for Ice and Snow].]]
[[ไฟล์:Cryosphere Fuller Projection.png|thumb|right|300px|ภาพมุมสูงของไครโอสเฟียร์ จาก [http://maps.grida.no/go/graphic/cryosphere UN Environment Programme Global Outlook for Ice and Snow]]]
[[ไฟล์:Components of the Cryosphere.tif|thumb|300px|ภาพความละเอียดสูง ออกแบบเพื่อ[[คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ]] แสดงให้เห็นถึงขอบเขตของไครโอสเฟียร์บนโลก บนพื้นทวีป พื้นดินที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียสเป็นเวลานานจะแสดงให้เห็นด้วยสีชมพูเข้ม แต่พื้นดินที่เคยมีอุณหภูมิต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียสเป็นเวลานานและมีแนวโน้มว่าจะมีอุณหภูมิสูงขึ้นจะแสดงด้วยสีชมพูอ่อน ส่วนในบริเวณที่มีสีเทาจะแสดงถึงพื้นที่ซึ่งมี[[หิมะ]]ตกอย่างน้อยหนึ่งวันในช่วงปี [[พ.ศ. 2543]]–[[พ.ศ. 2555|2555]] เส้นสีเขียวอ่อนบริเวณทางตอนใต้ของทวีปแสดงถึงขอบเขตที่มีหิมะมากที่สุด ส่วนเส้นสีดำบริเวณ[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] [[ทวีปยุโรป]] และ[[ทวีปเอเชีย]] แสดงให้เห็นถึงขอบเขตที่มีหิมะร้อยละ 50 [[ธารน้ำแข็ง]]แสดงให้เห็นในรูปจุดสีทองเล็ก ๆ ในบริเวณเขตภูเขา และบริเวณละติจูดที่อยู่เหนือและใต้มาก ส่วนในบริเวณมหาสมุทร แผ่นน้ำแข็งจะแสดงให้เห็นบริเวณรอบ[[ทวีปแอนตาร์กติกา]]พร้อมกับทะเลที่เป็นน้ำแข็งบริเวณโดยรอบ ทะเลที่เป็นน้ำแข็งแสดงให้เห็นบริเวณ[[ขั้วโลกเหนือ]]ด้วย โดยทั้งสองขั้วโลก ขอบเขตของทะเลที่มีน้ำแข็งเฉลี่ยในรอบสามสิบปีได้แสดงไว้ด้วยเส้นสีเหลือง และผืนน้ำแข็งบน[[กรีนแลนด์]]กับ[[ทวีปแอนตาร์กติกา]]สามารถเห็นได้ชัดในรูปใบนี้]]
[[ไฟล์:Components of the Cryosphere.tif|thumb|300px|ภาพความละเอียดสูงนี้ ซึ่งออกแบบสำหรับ [[คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ|IPCC]] แสดงขอบเขตของบริเวณที่ได้รับผลจากองค์ประกอบของไครโอสเฟียร์ทั่วโลก เหนือพื้นดิน [[ชั้นดินเยือกแข็งคงตัว]]ต่อเนื่องแสดงด้วยสีชมพูเข้ม ขณะที่ชั้นดินเยือกแข็งคงตัวไม่ต่อเนื่องแสดงด้วยสีชมพูที่อ่อนกว่า สีขาวกึ่งโปร่งใสเหนือพื้นที่ดินกว้างใหญ่ของซีกโลกเหนือแสดงบริเวณซึ่งมีหิมะตกอย่างน้อยหนึ่งวันระหว่างปี 2543-2555 เส้นสีเขียวสว่างตามขอบทิศใต้ของบริเวฯนี้แสดงขอบเขตหิมะสูงสุด ขณะที่เส้นสีดำตามทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรปและเอเชียแสดงเส้นขอบเขตหิมะ 50% [[ธารน้ำแข็ง]]แสดงเป็นจุดสีทองเล็ก ๆ ในพื้นที่ภูเขาและในละติจูดเหนือและใต้จัด เหนือพื้นน้ำ หิ้งน้ำแข็งแสดงรอบทวีปแอนตาร์กติกาตามน้ำแข็งทะเลรอบหิ้งน้ำแข็ง น้ำแข็งทะเลยังแสดงที่ขั้วโลกเหนือ สำหรับทั้งสองขั้ว ขอบเขตน้ำแข็งทะเลเฉลี่ย 30 ปีแสดงโดยขอบสีเหลือง นอกากนี้ จะเห็นแผ่นน้ำแข็งกรีนแลนด์และแอนตาร์กติกาได้ชัดเจน]]


'''ไครโอสเฟียร์''' ({{lang-en|Cryosphere}}) เป็นส่วนหนึ่งของผิว[[โลก]]ซึ่งประกอบด้วย[[น้ำ]]ในรูป[[ของแข็ง]] รวมถึง[[ทะเล]]ที่เป็น[[น้ำแข็ง]] [[ทะเลสาบ]]น้ำแข็ง [[แม่น้ำ]]ที่เป็นน้ำแข็ง [[ธารน้ำแข็ง]] แผ่นน้ำแข็ง และพื้นดินซึ่งเยือกแข็ง พื้นที่ส่วนใหญ่ของไครโอสเฟียร์มักจะซ้อนอยู่บนพื้นที่ของ[[อุทกภาค]] ไครโอสเฟียร์นั้นเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง[[ภูมิอากาศ|สภาพภูมิอากาศโลก]]หลายประการ โดยมักมีอิทธิพลต่อเมฆ ปริมาณ[[หยาดน้ำฟ้า]] อุทกวิทยา และการไหลเวียนของอากาศและกระแสน้ำ
'''ไครโอสเฟียร์''' ({{lang-en|Cryosphere}}) เป็นส่วนหนึ่งของผิว[[โลก]]ซึ่งประกอบด้วย[[น้ำ]]ในรูป[[ของแข็ง]] รวมถึง[[ทะเล]]ที่เป็น[[น้ำแข็ง]] [[ทะเลสาบ]]น้ำแข็ง [[แม่น้ำ]]ที่เป็นน้ำแข็ง [[ธารน้ำแข็ง]] แผ่นน้ำแข็ง และพื้นดินซึ่งเยือกแข็ง พื้นที่ส่วนใหญ่ของไครโอสเฟียร์มักจะซ้อนอยู่บนพื้นที่ของ[[อุทกภาค]] ไครโอสเฟียร์นั้นเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง[[ภูมิอากาศ|สภาพภูมิอากาศโลก]]หลายประการ โดยมักมีอิทธิพลต่อเมฆ ปริมาณ[[หยาดน้ำฟ้า]] อุทกวิทยา และการไหลเวียนของอากาศและกระแสน้ำ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:49, 26 กันยายน 2558

ภาพมุมสูงของไครโอสเฟียร์ จาก UN Environment Programme Global Outlook for Ice and Snow
ภาพความละเอียดสูงนี้ ซึ่งออกแบบสำหรับ IPCC แสดงขอบเขตของบริเวณที่ได้รับผลจากองค์ประกอบของไครโอสเฟียร์ทั่วโลก เหนือพื้นดิน ชั้นดินเยือกแข็งคงตัวต่อเนื่องแสดงด้วยสีชมพูเข้ม ขณะที่ชั้นดินเยือกแข็งคงตัวไม่ต่อเนื่องแสดงด้วยสีชมพูที่อ่อนกว่า สีขาวกึ่งโปร่งใสเหนือพื้นที่ดินกว้างใหญ่ของซีกโลกเหนือแสดงบริเวณซึ่งมีหิมะตกอย่างน้อยหนึ่งวันระหว่างปี 2543-2555 เส้นสีเขียวสว่างตามขอบทิศใต้ของบริเวฯนี้แสดงขอบเขตหิมะสูงสุด ขณะที่เส้นสีดำตามทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรปและเอเชียแสดงเส้นขอบเขตหิมะ 50% ธารน้ำแข็งแสดงเป็นจุดสีทองเล็ก ๆ ในพื้นที่ภูเขาและในละติจูดเหนือและใต้จัด เหนือพื้นน้ำ หิ้งน้ำแข็งแสดงรอบทวีปแอนตาร์กติกาตามน้ำแข็งทะเลรอบหิ้งน้ำแข็ง น้ำแข็งทะเลยังแสดงที่ขั้วโลกเหนือ สำหรับทั้งสองขั้ว ขอบเขตน้ำแข็งทะเลเฉลี่ย 30 ปีแสดงโดยขอบสีเหลือง นอกากนี้ จะเห็นแผ่นน้ำแข็งกรีนแลนด์และแอนตาร์กติกาได้ชัดเจน

ไครโอสเฟียร์ (อังกฤษ: Cryosphere) เป็นส่วนหนึ่งของผิวโลกซึ่งประกอบด้วยน้ำในรูปของแข็ง รวมถึงทะเลที่เป็นน้ำแข็ง ทะเลสาบน้ำแข็ง แม่น้ำที่เป็นน้ำแข็ง ธารน้ำแข็ง แผ่นน้ำแข็ง และพื้นดินซึ่งเยือกแข็ง พื้นที่ส่วนใหญ่ของไครโอสเฟียร์มักจะซ้อนอยู่บนพื้นที่ของอุทกภาค ไครโอสเฟียร์นั้นเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกหลายประการ โดยมักมีอิทธิพลต่อเมฆ ปริมาณหยาดน้ำฟ้า อุทกวิทยา และการไหลเวียนของอากาศและกระแสน้ำ

โครงสร้าง

น้ำที่ผ่านจุดเยือกแข็งมาแล้วมักจะพบบนพื้นผิวโลกในรูปของหิมะ น้ำแข็งในทะเลสาบและแม่น้ำ น้ำแข็งในทะเล และธารน้ำแข็ง โดยพื้นที่ที่มีน้ำแข็งปกคลุมและน้ำแข็งในแหล่งน้ำจืดนั้นมักจะขึ้นตรงกับฤดูกาล หากอุณหภูมิสูงขึ้น หิมะหรือน้ำแข็งเหล่านี้ก็อาจละลายได้ น้ำแข็งในธารน้ำแข็งบางแห่งอาจคงสภาพได้นานถึงหนึ่งแสนปีหรือมากกว่านั้น และน้ำแข็งทางตะวันออกของทวีปแอนตาร์กติกาอาจมีอายุถึงหนึ่งล้านปี

ปริมาณน้ำแข็งที่มากที่สุดในโลกอยู่ที่แอนตาร์กติกา โดยเฉพาะบริเวณตะวันออกของทวีป ส่วนบริเวณที่มีน้ำแข็งหรือหิมะปกคลุมที่กว้างที่สุดในโลกนั้นอยู่บริเวณซีกโลกเหนือ โดยไครโอสเฟียร์จะกินพื้นที่ถึงร้อยละ 23 ของซีกโลกเหนือในเดือนมกราคม

มีปัจจัยทางกายภาพที่สำคัญหลายประการที่ทำให้การแลกเปลี่ยนพลังงานระหว่างพื้นผิวโลกกับชั้นบรรยากาศเบาบางลง ปัจจัยที่สำคัญก็คือการที่ไครโอสเฟียร์สามารถสะท้อนความร้อนได้ สามารถถ่ายเทความร้อนได้ และสามารถเปลี่ยนสถานะได้ (ความร้อนแฝงจำเพาะ) ปัจจัยทางกายภาพเหล่านี้รวมถึงความขรุขระของผิวไครโอสเฟียร์นั้นมีส่วนอย่างมากในการที่มนุษย์สามารถสังเกตและศึกษาหิมะและน้ำแข็งจากอวกาศได้ ตัวอย่างเช่นความขรุขระของไครโอสเฟียร์เป็นตัวการสำคัญในการสะท้อนกลับของเรดาร์[1]

ดูเติม

อ้างอิง

  1. Hall, D. K., 1996: Remote sensing applications to hydrology: imaging radar. Hydrological Sciences, 41, 609-624.