ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พูมา (บริษัท)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox company
{{Infobox company
| company_name = พูมา เอสอี
| company_name = พูมา เอสอี
| company_logo = Puma-logo.gif
| company_logo = Puma marca.jpg
| company_type = [[European Company Regulation|บริษัทจดทะเบียนยุโรป]]
| company_type = [[European Company Regulation|บริษัทจดทะเบียนยุโรป]]
| traded_as = {{FWB|PUM}}
| traded_as = {{FWB|PUM}}
บรรทัด 33: บรรทัด 33:


==สปอนเซอร์ว่าจ้าง==
==สปอนเซอร์ว่าจ้าง==
[[ภาพ:PUMAVision Headquarters Herzogenaurach 1.jpg|thumb|สัญลักษณ์พูมาในปัจจุบัน ที่อาคารสำนักงานใหญ่]]
===ฟุตบอล===
===ฟุตบอล===
====ทีมชาติ====
====ทีมชาติ====

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:54, 19 กันยายน 2558

พูมา เอสอี
ประเภทบริษัทจดทะเบียนยุโรป
การซื้อขาย
FWB: PUM
ISINDE0006969603 Edit this on Wikidata
อุตสาหกรรมเสื้อผ้า และ เครื่องอุปโภคบริโภค
ก่อนหน้าDassler Brothers Shoe Factory Edit this on Wikidata
ก่อตั้ง1924 ในชื่อ Gebrüder Dassler Schuhfabrik[1]
ผู้ก่อตั้งเยอรมนี รูดอล์ฟ แดสส์เลอร์
สำนักงานใหญ่เยอรมนี เฮอร์โซเกนัวรัช ประเทศเยอรมนี
พื้นที่ให้บริการ
ทั่วโลก
บุคลากรหลัก
เยอรมนี โจเชน ไซทซ์ (ประธานบริษัท)
เยอรมนี ฟรานซ์ คอช (กรรมการผู้จัดการ)
เยอรมนี คลาอุส เบาเออร์ (ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ)
ผลิตภัณฑ์รองเท้า, เสื้อผ้ากีฬา, สินค้ากีฬา, เครื่องประดับ
รายได้€2.706 พันล้าน (2010)[2]
รายได้จากการดำเนินงาน
€306.8 ล้าน (2010)[2]
รายได้สุทธิ
€202.2 ล้าน (2010)[2]
สินทรัพย์€2.367 พันล้าน (end 2010)[2]
ส่วนของผู้ถือหุ้น€1.386 พันล้าน (end 2010)[2]
พนักงาน
9,310 คน(ในปี 2010)[2]
บริษัทแม่PPR
เว็บไซต์www.puma.com

สำหรับพูมาที่เป็นสัตว์จำพวกเสือดูที่: เสือพูมา

พูมา เป็นบริษัทผลิตเสื้อผ้าและเสื้อผ้ากีฬา จากประเทศเยอรมนี โดยก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1924 โดย รูดอล์ฟ แดสส์เลอร์ และอาดิ แดสส์เลอร์ สองพี่น้องตระกูลแดสส์เลอร์ ในนามของบริษัทอาดิดาส

ต่อมาในปี ค.ศ. 1948 รูดอล์ฟ ดาสส์เลอร์ ตัดสินใจแยกตัวออกมาตั้งบริษัทใหม่เอง โดยใช้ชื่อบริษัท พูมาอาเกรูดอล์ฟดาสส์เลอร์สปอร์ต ซึ่งเป็นผู้ผลิตรองเท้าและอุปกรณ์กีฬายี่ห้อพูมา โดยใช้ "พูมา" หรือ สิงโตภูเขา เป็นสัญลักษณ์ เนื่องจากพูมาเป็นสัตว์ที่ปราดเปรียวกระฉับกระเฉงสามารถปีนป่ายภูเขาได้เป็นอย่างดี

จากรองเท้าและอุปกรณ์กีฬา พูมาแตกไลน์มาผลิตเสื้อผ้า และกลายเป็นยี่ห้อที่ได้รับความนิยมอย่างสูง ในแวดวงดนตรีฮิปฮอปและการทำกราฟฟิตี ทั้งในและนอกสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1970-1980 และยังคงความนิยมมาจนถึงทุกวันนี้[3]

โดยพูมาได้รับการสนับสนุนจากนักฟุตบอลและนักกีฬาชื่อดังหลายคน เช่น เปเล่, ยูเซบิโอ, โยฮัน ครัฟฟ์, เอนโซ ฟรานเซสโคลี, เดียโก มาราโดนา, ลอธาร์ มัทธาอุส, เคนนี ดัลกลิช, ออสการ์ เดอ ลา โฮยา, ดีดีเย เดช็อง, รอแบร์ ปีแร็ส, ราดาเมล ฟัลเกา, ซามูแอล เอโต, จันลุยจี บุฟฟอน และมารีโอ บาโลเตลลี

สปอนเซอร์ว่าจ้าง

สัญลักษณ์พูมาในปัจจุบัน ที่อาคารสำนักงานใหญ่

ฟุตบอล

ทีมชาติ

ทีมสโมสร

นักกีฬา

อ้างอิง

  1. Adidas Group History. Adidas-group.com. Retrieved on 12 July 2011.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Annual Report 2010" (PDF). Puma AG. สืบค้นเมื่อ 16 April 2011.
  3. "ต้นกำเนิด "พูม่า"". ผู้จัดการออนไลน์. 21 October 2005. สืบค้นเมื่อ 19 September 2015.
  4. "ใส่ก่อนเท่ก่อน!! รวมเสื้อแข่ง "เวิลด์ คัพ 2014"". ผู้จัดการออนไลน์. 4 March 2014. สืบค้นเมื่อ 13 March 2014.
  5. "New Philippines Away Kit 2012-2013- Azkals Puma Jersey 12-13". Football Kit News. 2012-06-04. สืบค้นเมื่อ 2012-06-05.
  6. "ปีนใหญ่ประกาศจับมือพูม่า". สยามสปอร์ต. 28 January 2014. สืบค้นเมื่อ 13 March 2014.
  7. "PUMA announces partnership with Borussia Dortmund (BVB)". Puma AG. 26 October 2011. สืบค้นเมื่อ 28 November 2011.
  8. ""ลีซอ" อวดเสื้อใหม่ตำรวจ แบรนด์ "พูมา"". ผู้จัดการออนไลน์. 20 January 2015. สืบค้นเมื่อ 21 January 2015.
  9. "ปืนเฮพูม่าช่วยดึง'บาโล'เสริมคม". เดลินิวส์. 5 February 2014. สืบค้นเมื่อ 13 March 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น