ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประภัทรพงศ์ เวชชาชีวะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 28: บรรทัด 28:


ต่อมาเขาได้วางมือทางการเมือง และหันไปทำธุรกิจปลูกทุเรียนพันธุ์กระดุมทอง ในจังหวัดจันทบุรี หลังจากนั้นชื่อของเขาเป็นที่รู้จักอีกครั้งจากกรณีที่เขามีชื่อเป็นประธานกรรมการบริษัท เคที จำกัด ที่ได้รับการต่อสัญญาการเดินรถไฟฟ้าบีทีเอสจากกรุงเทพมหานคร<ref>[http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9550000057127 พท.เตรียมยื่น DSI ตรวจสอบ กทม.เอื้อเอกชนต่อสัญญา BTS 30 ปี]</ref> ในยุคของหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธ์ บริพัตร เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ต่อมาเขาได้วางมือทางการเมือง และหันไปทำธุรกิจปลูกทุเรียนพันธุ์กระดุมทอง ในจังหวัดจันทบุรี หลังจากนั้นชื่อของเขาเป็นที่รู้จักอีกครั้งจากกรณีที่เขามีชื่อเป็นประธานกรรมการบริษัท เคที จำกัด ที่ได้รับการต่อสัญญาการเดินรถไฟฟ้าบีทีเอสจากกรุงเทพมหานคร<ref>[http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9550000057127 พท.เตรียมยื่น DSI ตรวจสอบ กทม.เอื้อเอกชนต่อสัญญา BTS 30 ปี]</ref> ในยุคของหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธ์ บริพัตร เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
{{ต.ม.}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:30, 14 กันยายน 2558

ประภัทรพงศ์ เวชชาชีวะ
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
ดำรงตำแหน่ง
8 มกราคม พ.ศ. 2519 – 20 เมษายน พ.ศ. 2519
นายกรัฐมนตรีหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด1 กรกฎาคม พ.ศ. 2476 (90 ปี)
ศาสนาพุทธ

นายประภัทรพงศ์ เวชชาชีวะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี เจ้าของธุรกิจสวนผลไม้ทุเรียนกระดุมทองเจ้าแรกๆ ของจันทบุรี จนได้รับฉายา "เจ้าพ่อกระดุมทอง" และเป็นบิดาของนายพงศ์เวช เวชชาชีวะ[1]

ประวัติ

ประภัทรพงศ์ เวชชาชีวะ เกิดเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2476 เป็นบุตรของขุนประวิตรเวชชาชีพ (ประวิตร เวชชาชีวะ) สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย สมรสกับนางไพเราะ เวชชาชีวะ มีบุตรคือ นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดจันทบุรี พรรคประชาธิปัตย์

ประภัทรพงศ์ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี 1 สมัย ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2518 สังกัดพรรคไท และได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ในปี พ.ศ. 2519

ต่อมาเขาได้วางมือทางการเมือง และหันไปทำธุรกิจปลูกทุเรียนพันธุ์กระดุมทอง ในจังหวัดจันทบุรี หลังจากนั้นชื่อของเขาเป็นที่รู้จักอีกครั้งจากกรณีที่เขามีชื่อเป็นประธานกรรมการบริษัท เคที จำกัด ที่ได้รับการต่อสัญญาการเดินรถไฟฟ้าบีทีเอสจากกรุงเทพมหานคร[2] ในยุคของหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธ์ บริพัตร เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง