ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษามลายูปัตตานี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล ภาษา
{{กล่องข้อมูล ภาษา
|name=ภาษามลายูปัตตานี
|name=ภาษามลายูปัตตานี
|altname=Baso Pattani
|altname=
|nativename=ภาษายาวี<br />بهاس جاوي <br />''Bahasa Jawi''
|nativename=ภาษายาวี<br />بهاس جاوي <br />''Bahasa Jawi''
|nativename=''บาซอ 'นายู 'ตานิง''
|nativename=''บาซอ 'นายู 'ตานิง''
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
|familycolor=Austronesian
|familycolor=Austronesian
|states=[[ประเทศไทย|ไทย]]
|states=[[ประเทศไทย|ไทย]]
|script=[[อักษรยาวี]], [[อักษรไทย]]<ref name="ethnologue">[http://www.ethnologue.com/language/mfa http://www.ethnologue.com/language/mfa]</ref>, [[อักษรโรมัน]]
|script=[[อักษรยาวี]], [[อักษรไทย]],<ref name="ethnologue">[http://www.ethnologue.com/language/mfa http://www.ethnologue.com/language/mfa]</ref> [[อักษรโรมัน]]
|region=[[จังหวัดปัตตานี]], [[จังหวัดนราธิวาส|นราธิวาส]], [[จังหวัดยะลา|ยะลา]] และบางส่วนของ[[จังหวัดสงขลา|สงขลา]]
|region=[[จังหวัดปัตตานี]], [[จังหวัดนราธิวาส|นราธิวาส]], [[จังหวัดยะลา|ยะลา]] และบางส่วนของ[[จังหวัดสงขลา|สงขลา]]
|speakers=1 ล้านคน<ref name="ethnologue"/>
|speakers=1 ล้านคน<ref name="ethnologue"/>
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
'''ภาษามลายูปัตตานี''' หรือ '''ภาษามลายูปาตานี''' (มลายูปัตตานี: บาซอ 'นายู 'ตานิง; {{lang-ms|Bahasa Melayu Patani}}, [[อักษรยาวี]]: {{lang|ms|بهاس ملاي ڤطاني}}) หรือนิยมเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า '''ภาษายาวี''' ([[อักษรยาวี]]: {{lang|ms|بهاس جاوي}}) เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียนที่พูดโดยชาวไทยเชื้อสายมลายูใน[[จังหวัดปัตตานี]] [[จังหวัดนราธิวาส]] [[จังหวัดยะลา]] รวมทั้งใน[[อำเภอนาทวี]] [[อำเภอจะนะ]] [[อำเภอเทพา]] และ[[อำเภอสะบ้าย้อย]] ทางทิศตะวันออกของ[[จังหวัดสงขลา]] (ไม่รวม[[จังหวัดสตูล]])
'''ภาษามลายูปัตตานี''' หรือ '''ภาษามลายูปาตานี''' (มลายูปัตตานี: บาซอ 'นายู 'ตานิง; {{lang-ms|Bahasa Melayu Patani}}, [[อักษรยาวี]]: {{lang|ms|بهاس ملاي ڤطاني}}) หรือนิยมเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า '''ภาษายาวี''' ([[อักษรยาวี]]: {{lang|ms|بهاس جاوي}}) เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียนที่พูดโดยชาวไทยเชื้อสายมลายูใน[[จังหวัดปัตตานี]] [[จังหวัดนราธิวาส]] [[จังหวัดยะลา]] รวมทั้งใน[[อำเภอนาทวี]] [[อำเภอจะนะ]] [[อำเภอเทพา]] และ[[อำเภอสะบ้าย้อย]] ทางทิศตะวันออกของ[[จังหวัดสงขลา]] (ไม่รวม[[จังหวัดสตูล]])


ใน[[ประเทศไทย]]มีประชากรที่พูดภาษานี้มากกว่า 1 ล้านคน ภาษานี้ใกล้เคียงมากกับภาษาถิ่นใน[[รัฐกลันตัน]] ประเทศมาเลเซีย ซึ่งพูดภาษาถิ่นที่แตกต่างจากส่วนที่เหลือของประเทศมาเลเซีย
ใน[[ประเทศไทย]]มีประชากรที่พูดภาษานี้มากกว่า 1 ล้านคน ภาษานี้ใกล้เคียงมากกับภาษามลายูถิ่นใน[[รัฐกลันตัน]] ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นภาษาถิ่นที่แตกต่างจากส่วนที่เหลือของประเทศมาเลเซีย บางครั้งก็มีการเรียกรวมเป็นภาษาเดียวกันว่า "ภาษามลายูกลันตัน-ปัตตานี"


== ระบบเสียง ==
== ระบบเสียง ==
บรรทัด 160: บรรทัด 160:
==คำศัพท์==
==คำศัพท์==
นอกจากคำศัพท์พื้นฐานของภาษามลายูแล้ว ภาษามลายูปัตตานีมีคำยืมจากภาษาอื่นหลายภาษา ได้แก่<ref>ประพนธ์, 2540</ref>
นอกจากคำศัพท์พื้นฐานของภาษามลายูแล้ว ภาษามลายูปัตตานีมีคำยืมจากภาษาอื่นหลายภาษา ได้แก่<ref>ประพนธ์, 2540</ref>
* [[ภาษาสันสกฤต]] เข้ามาพร้อมกับ[[ศาสนาพุทธ]] เช่น ภาษา เป็น ''บาฮาซอ'', หฤทยะ เป็น ''ฮาตี'', คช (ช้าง) เป็น ''กฺเยฺะฮ''
* [[ภาษาสันสกฤต]] เข้ามาพร้อมกับ[[ศาสนาพุทธ]] เช่น ภาษา เป็น ''บาฮาซอ'', หฤทยะ เป็น ''ฮาตี'', คช (ช้าง) เป็น ''กฺาเยฺาะฮ''
* [[ภาษาอาหรับ]] เข้ามาพร้อมกับ[[ศาสนาอิสลาม]] เช่น กอลัม (ปากกา) เป็น ''กาแล'', ตะมัร (อินทผาลัม) เป็น ''ตามา'', อาลัม (โลก) เป็น ''อาแล''
* [[ภาษาอาหรับ]] เข้ามาพร้อมกับ[[ศาสนาอิสลาม]] เช่น กอลัม (ปากกา) เป็น ''กาแล'', ตะมัร (อินทผาลัม) เป็น ''ตามา'', อาลัม (โลก) เป็น ''อาแล''
* [[ภาษาเขมร]] เช่น กำปง (หมู่บ้าน) เป็น ''กาปง''
* [[ภาษาเขมร]] เช่น กำปง (หมู่บ้าน) เป็น ''กาปง''
* [[ภาษาจีน]] เช่น กุยช่าย เป็น ''กูจา''
* [[ภาษาจีน]] เช่น กุยช่าย เป็น ''กูจา''
* [[ภาษาชวา]] เช่น มาลัม (กลางคืน) เป็น ''มาแล''
* [[ภาษาชวา]] เช่น มาลัม (กลางคืน) เป็น ''มาแล''
* [[ภาษาเปอร์เซีย]] เช่น มะตับ (แสงจันทร์) เป็น ''มะตับ'', ฆันดุม (แป้ง) เป็น ''กฺนง''
* [[ภาษาเปอร์เซีย]] เช่น มะตับ (แสงจันทร์) เป็น ''มะตับ'', ฆันดุม (แป้ง) เป็น ''กฺานง''
* [[ภาษาฮินดี]] เช่น โรตี
* [[ภาษาฮินดี]] เช่น โรตี
* [[ภาษาทมิฬ]] เช่น มานิกัม (เพชร) เป็น ''มานิแก''
* [[ภาษาทมิฬ]] เช่น มานิกัม (เพชร) เป็น ''มานิแก''
บรรทัด 199: บรรทัด 199:


===ความต่างของไวยากรณ์===
===ความต่างของไวยากรณ์===
* ภาษามลายูปัตตานีคัดคำอุปสรรคที่ไม่จำเป็นออก เช่น {{lang|ms|'''''ber'''jalan''}} (เดิน) ในภาษามาเลเซีย เป็น 'ยฺแล ในภาษามลายูปัตตานี
* ภาษามลายูปัตตานีคัดคำอุปสรรคที่ไม่จำเป็นออก เช่น {{lang|ms|'''''ber'''jalan''}} (เดิน) ในภาษามาเลเซีย เป็น 'ยฺาแล ในภาษามลายูปัตตานี
* ภาษามลายูปัตตานีใช้คำง่ายกว่า เช่น มาแก ใช้ได้ทั้ง กินข้าว ดื่มน้ำ สูบบุหรี่ แต่ภาษามาเลเซียแยกเป็น {{lang|ms|''makan''}} (กิน), {{lang|ms|''minum''}} (ดื่ม) และ {{lang|ms|''hisap''}} (สูบ)
* ภาษามลายูปัตตานีใช้คำง่ายกว่า เช่น มาแก ใช้ได้ทั้ง กินข้าว ดื่มน้ำ สูบบุหรี่ แต่ภาษามาเลเซียแยกเป็น {{lang|ms|''makan''}} (กิน), {{lang|ms|''minum''}} (ดื่ม) และ {{lang|ms|''hisap''}} (สูบ)
* ภาษามาเลเซียมีการแยกระดับของคำมากกว่า เช่น ผู้ชายใช้ {{lang|ms|''laki-laki''}} สัตว์ตัวผู้ใช้ {{lang|ms|''jantan''}} ส่วนภาษามลายูปัตตานีใช้ ยฺแต กับทั้งคนและสัตว์ ส่วน ลือลากี มีใช้น้อย
* ภาษามาเลเซียมีการแยกระดับของคำมากกว่า เช่น ผู้ชายใช้ {{lang|ms|''laki-laki''}} สัตว์ตัวผู้ใช้ {{lang|ms|''jantan''}} ส่วนภาษามลายูปัตตานีใช้ ยฺาแต กับทั้งคนและสัตว์ ส่วน ลือลากี มีใช้น้อย
* ภาษามลายูปัตตานีมีการเรียงคำแบบภาษาไทยมากกว่า เช่น ทำนา ใช้ บูวะบือแ<u>น</u>
* ภาษามลายูปัตตานีมีการเรียงคำแบบภาษาไทยมากกว่า เช่น ทำนา ใช้ บูวะบือแ<u>น</u>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:22, 21 สิงหาคม 2558

ภาษามลายูปัตตานี
บาซอ 'นายู 'ตานิง
ออกเสียง/baˈsɔ ˈnːaju ˈtːaniŋ/
ประเทศที่มีการพูดไทย
ภูมิภาคจังหวัดปัตตานี, นราธิวาส, ยะลา และบางส่วนของสงขลา
จำนวนผู้พูด1 ล้านคน[1]  (2549)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรยาวี, อักษรไทย,[1] อักษรโรมัน
รหัสภาษา
ISO 639-3mfa (Pattani)

ภาษามลายูปัตตานี หรือ ภาษามลายูปาตานี (มลายูปัตตานี: บาซอ 'นายู 'ตานิง; มลายู: Bahasa Melayu Patani, อักษรยาวี: بهاس ملاي ڤطاني) หรือนิยมเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ภาษายาวี (อักษรยาวี: بهاس جاوي) เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียนที่พูดโดยชาวไทยเชื้อสายมลายูในจังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา รวมทั้งในอำเภอนาทวี อำเภอจะนะ อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย ทางทิศตะวันออกของจังหวัดสงขลา (ไม่รวมจังหวัดสตูล)

ในประเทศไทยมีประชากรที่พูดภาษานี้มากกว่า 1 ล้านคน ภาษานี้ใกล้เคียงมากกับภาษามลายูถิ่นในรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นภาษาถิ่นที่แตกต่างจากส่วนที่เหลือของประเทศมาเลเซีย บางครั้งก็มีการเรียกรวมเป็นภาษาเดียวกันว่า "ภาษามลายูกลันตัน-ปัตตานี"

ระบบเสียง

พยัญชนะ

หน่วยเสียงพยัญชนะมลายูปัตตานี[2]
ประเภทเสียง ตำแหน่งเกิดเสียง
ริมฝีปาก ริมฝีปาก
กับฟัน
ปุ่มเหงือก เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
เสียงนาสิก m n ɲ ŋ
เสียงกึ่งนาสิก mb nd ɲɟ ŋg
เสียงกัก ไม่ก้อง ไม่พ่นลม p t c k ʔ
พ่นลม (pʰ) (tʰ) (cʰ) (kʰ)
ก้อง b d ɟ g
เสียงเสียดแทรก ไม่ก้อง (f) s (x) h
ก้อง (z) ɣ
เสียงลิ้นรัว r
เสียงข้างลิ้น l
เสียงกึ่งสระ w j


  • หน่วยเสียงที่อยู่ในวงเล็บคือหน่วยเสียงที่ปรากฏในคำยืม เช่น /eʔ/ 'เค้ก', /orasaʔ/ 'โทรศัพท์'
  • หน่วยเสียงที่ปรากฏในตำแหน่งท้ายพยางค์มี 3 หน่วยเสียง ได้แก่ /ŋ/, /ʔ/ และ /h/ เช่น /tɨpoŋ/ 'ขนม', /kɔtɔʔ/ 'กล่อง', /panah/ 'ร้อน'
  • หน่วยเสียงพยัญชนะกึ่งนาสิกเป็นหน่วยเสียงที่ไม่พบทั้งในภาษามาเลเซียและภาษาไทย เกิดจากการรวบเสียงพยัญชนะนาสิกเข้ากับเสียงพยัญชนะกักซึ่งใช้ฐานกรณ์เดียวกันหรือใกล้เคียงกันจนกลมกลืนเป็นเสียงเดียว โดยเกิดเฉพาะในตำแหน่งกลางคำเท่านั้น ตัวอย่างคู่เทียบเสียงได้แก่ /kɨmæ/ 'ไมยราบ' - /kɨmbæ/ 'บาน', /kanæ/ 'ขวา' - /kandæ/ 'คอก' และ /tuŋa/ 'ไร' - /tuŋga/ 'โทน, โดด'
  • นอกจากหน่วยเสียงพยัญชนะข้างต้นแล้ว ภาษามลายูปัตตานียังมีหน่วยเสียงพยัญชนะเสียงยาว ซึ่งก็คือเสียงพยัญชนะต้นที่ถูกยืดให้ยาวกว่าปกติเล็กน้อยเนื่องมาจากการลดรูปของคำ การยืดเสียงเช่นนี้เกิดได้กับพยัญชนะทุกหน่วยเสียง ยกเว้น /ʔ/, /h/ และหน่วยเสียงพยัญชนะกึ่งนาสิก ตัวอย่างคู่เทียบเสียงได้แก่ /buŋɔ/ 'ดอกไม้' - /uŋɔ/ 'ออกดอก' และ /malæ/ 'กลางคืน' - /alæ/ 'ค้างคืน'

สระ

หน่วยเสียงสระเดี่ยวภาษามลายูปัตตานี[3]
ประเภท สระหน้า สระกลางลิ้น สระหลัง
สระสูง i ɨ u, ũ
สระกึ่งสูง e o
สระกึ่งต่ำ æ, æ̃ ɔ, ɔ̃
สระต่ำ a, ã

คำศัพท์

นอกจากคำศัพท์พื้นฐานของภาษามลายูแล้ว ภาษามลายูปัตตานีมีคำยืมจากภาษาอื่นหลายภาษา ได้แก่[4]

ความแตกต่างระหว่างภาษามลายูปัตตานีกับภาษามาเลเซีย

ความแตกต่างระหว่างภาษามลายูปัตตานีกับภาษามลายูกลางหรือภาษามาเลเซียมีดังนี้[5]

การใช้คำ

บางคำทั้งสองภาษาใช้คำต่างกัน เช่น ฉัน ภาษามาเลเซียใช้ [saya] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) ภาษามลายูปัตตานีใช้ อามอหรือซายอ; มันเทศ ภาษามาเลเซียใช้ [ubi keledek] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) ภาษามลายูปัตตานีใช้ อูปีกือแตลอ นอกจากนี้ ยังมีการใช้คำภาษาไทยปนเข้ามาในบางส่วน

การออกเสียง

  • ออกเสียงสระต่างกัน ได้แก่
    • เสียง /a/ + พยัญชนะนาสิกในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ɛ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น [ayam] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (ไก่) เป็น อาย; [makan] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (กิน) เป็น มา
    • เสียง /a/ ท้ายคำในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ɔ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น [nama] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (ชื่อ) เป็น นาม; [sila] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (เชิญ) เป็น ซีล
    • เสียง /a/ ในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ɔʔ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น [bawa] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (พา) เป็น บอาะ; [minta] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (ขอ) เป็น มีาะ
    • เสียง /ah/ ในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ɔh/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น [rumah] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (บ้าน) เป็น รูาะฮ
    • เสียง /aj/ ท้ายคำในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /a/ หรือ /ɛ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น [sungai] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (คลอง) เป็น ซูงหรือซูง; [kedai] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (ตลาด) เป็น กือดหรือกือด (การแปรเป็นเสียง /ɛ/ พบในบางท้องถิ่นเท่านั้น)
    • เสียง /aw/ ท้ายคำในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /a/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น [pisau] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (มีด) เป็น ปีซ
    • เสียง /i/ ท้ายคำที่ประสมกับพยัญชนะนาสิกในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /iŋ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น [sini] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (ที่นั่ง) เป็น ซีนิง
    • เสียง /ia/ ในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ijɛ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น [Siam] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (สยาม) เป็น ซีแย
    • เสียง /ia/ พยางค์แรกในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ɛ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น [biasa] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (เคย) เป็น บซอ
    • เสียง /ua/ ในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ɔ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น [buaso] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (บวช) เป็น ปซอ
  • ออกเสียงพยัญชนะต้นต่างกัน เช่น
    • เสียง /r/ ในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ɣ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น [orang] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (คน) เป็น ออแรฺ, [rantai] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (โซ่) เป็น รฺาตา
  • ออกเสียงตัวสะกดต่างกัน เช่น
    • ตัวสะกดที่เป็นเสียงเสียดแทรก /s/, /f/ ในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียงที่เกิดจากคอหอย /h/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น [malas] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (เกียจคร้าน) เป็น มาละ
    • ตัวสะกด /n/, /m/ ในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ŋ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น [hakim] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (ตุลาการ) เป็น ฮาเก็

นอกจากนั้นภาษามลายูปัตตานียังนิยมลดเสียงและคำที่พูด เช่น [emak saudara] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (น้าผู้หญิง) ในภาษามาเลเซีย เป็น เมาะซือดารฺอ ในภาษามลายูปัตตานี

โครงสร้างประโยค

ภาษามลายูปัตตานีนิยมเรียงประโยคแบบภาษาไทยคือใช้รูปประธานกระทำ ส่วนภาษามาเลเซียใช้ประโยคแบบประธานถูกกระทำ เช่น ภาษามาเลย์ใช้ ตูวัน ดีเปอรานะกัน ตีมานา (ท่านถูกเกิดที่ไหน) ภาษามลายูปัตตานีใช้ ตูแว บือราเนาะ ดีมานอ (ท่านเกิดที่ไหน)

ความต่างของไวยากรณ์

  • ภาษามลายูปัตตานีคัดคำอุปสรรคที่ไม่จำเป็นออก เช่น [berjalan] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (เดิน) ในภาษามาเลเซีย เป็น 'ยฺาแล ในภาษามลายูปัตตานี
  • ภาษามลายูปัตตานีใช้คำง่ายกว่า เช่น มาแก ใช้ได้ทั้ง กินข้าว ดื่มน้ำ สูบบุหรี่ แต่ภาษามาเลเซียแยกเป็น [makan] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (กิน), [minum] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (ดื่ม) และ [hisap] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) (สูบ)
  • ภาษามาเลเซียมีการแยกระดับของคำมากกว่า เช่น ผู้ชายใช้ [laki-laki] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) สัตว์ตัวผู้ใช้ [jantan] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) ส่วนภาษามลายูปัตตานีใช้ ยฺาแต กับทั้งคนและสัตว์ ส่วน ลือลากี มีใช้น้อย
  • ภาษามลายูปัตตานีมีการเรียงคำแบบภาษาไทยมากกว่า เช่น ทำนา ใช้ บูวะบือแ

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 http://www.ethnologue.com/language/mfa
  2. ราชบัณฑิตยสถาน. คู่มือระบบเขียนภาษามลายูปาตานีอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2553, หน้า 20.
  3. ราชบัณฑิตยสถาน. คู่มือระบบเขียนภาษามลายูปาตานีอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2553, หน้า 24.
  4. ประพนธ์, 2540
  5. ประพนธ์, 2540
  • ประพนธ์ เรืองณรงค์. บุหงาปัตตานี: คติชนไทยมุสลิมชายแดนภาคใต้. กทม. มติชน. 2540