ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไตรไนโตรโทลูอีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 85: บรรทัด 85:
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


{{โครงเคมี}}


[[หมวดหมู่:สารเคมี]]
[[หมวดหมู่:สารเคมี]]
{{โครงเคมี}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:05, 19 สิงหาคม 2558

ไตรไนโตรโทลูอีน
ไตรไนโตรโทลูอีนรูปของแข็ง
ชื่อ
IUPAC name
2-methyl-1,3,5-trinitrobenzene
ชื่ออื่น
2,4,6-Trinitrotoluene,
TNT, Trilite, Tolite, Trinol, Trotyl, Tritolo, Tritolol, Triton, Tritone, Trotol, Trinitrotoluol,
2,4,6-Trinitromethylbenzene
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ตัวย่อ TNT
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.003.900 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 204-289-6
UNII
UN number 0209Dry or wetted with < 30% water
0388, 0389Mixtures with trinitrobenzene, hexanitrostilbene
  • InChI=1/C7H5N3O6/c1-4-2-3-5(8(11)12)7(10(15)16)6(4)9(13)14/h2-3H,1H3
    Key: FPKOPBFLPLFWAD-UHFFFAOYAR
  • O=[N+]([O-])c1c(c(ccc1C)[N+]([O-])=O)[N+]([O-])=O
คุณสมบัติ
C7H5N3O6
มวลโมเลกุล 227.13 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ Pale yellow. Loose "needles" before melt-casting. A solid block after being poured into a casing.
ความหนาแน่น 1.654 g/cm3
จุดหลอมเหลว 80.35 °C
จุดเดือด 295 °C
0.13 g/L (20 °C)
ความสามารถละลายได้ ใน ether, acetone, benzene, pyridine soluble
ข้อมูลระเบิด
ความไวต่อแรงกระแทก Insensitive
ความไวต่อแรงเสียดทาน Insensitive to 353 N
RE factor 1.00
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 2: Intense or continued but not chronic exposure could cause temporary incapacitation or possible residual injury. E.g. chloroformFlammability 4: Will rapidly or completely vaporize at normal atmospheric pressure and temperature, or is readily dispersed in air and will burn readily. Flash point below 23 °C (73 °F). E.g. propaneInstability 4: Readily capable of detonation or explosive decomposition at normal temperatures and pressures. E.g. nitroglycerinSpecial hazards (white): no code
2
4
4
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ทีเอ็นที (อังกฤษ: TNT; ย่อจาก "ไตรไนโตรโทลูอีน" (Trinitrotoluene)) มีสารเคมีซึ่งมีสูตรคือ C6H2(NO2)3CH3 เป็นของแข็งสีเหลืองซึ่งบ้างใช้เป็นตัวเร่งในการสังเคราะห์เคมี แต่รู้จักกันดีที่สุดว่าเป็นวัตถุระเบิดที่มีประโยชน์โดยมีคุณสมบัติจัดการได้สะดวก

สารเคมีดังกล่าวนี้ มีการสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยโจเซฟ วิลแบรนด์ (Joseph Wilbrand) เมื่อ ค.ศ. 1863 และการผลิตปริมาณมากครั้งแรก เกิดขึ้นในเยอรมนี เมื่อ ค.ศ. 1891

ด้วยการใช้งานอย่างกว้างขวาง ทำให้ทีเอ็นทีเป็นเกณฑ์มาตรฐานในการวัดความเข้มของระเบิด และวัตถุระเบิดอื่นๆ โดยเทียบประสิทธิภาพกับทีเอ็นที เรียกว่า "TNT equivalent"

คุณสมบัติ

trinitrotoluene มีลักษณะเป็นผลึกสีเหลือง เรียวคล้ายเข็ม ละลายในน้ำได้น้อยแต่จะละลายได้ดีในตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น ether,acetone,benzene และ pyridine เนื่องจากมีจุดหลอมเหลวต่ำกว่า 80.35 °C ดังนั้นจึงสามารถหลอมละลาย TNT โดยใช้ความร้อนจากไอน้ำ TNT มีความเป็นพิษต่อร่างกายมนุษย์เมื่อถูกผิวหนังจะทำให้เกิดการแพ้ได้

*ความสามารถในการละลายน้ำ: 130 มก/ลิตร ที่อุณหภูมิ 20 °C และเมื่อนำสารละลายนี้ไปต้ม จะเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง *แรงดันไอน้ำที่ 20 °C: 1.5-6 mbar

อ้างอิง