ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไตรไนโตรโทลูอีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 70: บรรทัด 70:
| OtherCpds = [[picric acid]]<br>[[hexanitrobenzene]]<br>[[2,4-Dinitrotoluene]]}}
| OtherCpds = [[picric acid]]<br>[[hexanitrobenzene]]<br>[[2,4-Dinitrotoluene]]}}
}}
}}
'''ทีเอ็นที''' ({{lang-en|TNT}}; ย่อจาก "ไทรไนโทรลูอีน" (Trinitrotoluene)) เป็น[[ระเบิด]]ชนิดหนึ่ง มีสูตรอย่างง่าย คือ C<sub>7</sub>H<sub>5</sub>N<sub>3</sub>O<sub>6</sub>
'''ทีเอ็นที''' ({{lang-en|TNT}}; ย่อจาก "ไตรไนโตรโทลูอีน" (Trinitrotoluene)) มีสารเคมีซึ่งมีสูตรคือ C<sub>6</sub>H<sub>2</sub>(NO<sub>2</sub>)<sub>3</sub>CH<sub>3</sub> เป็นของแข็งสีเหลืองซึ่งบ้างใช้เป็นตัวเร่งในการสังเคราะห์เคมี แต่รู้จักกันดีที่สุดว่าเป็นวัตถุระเบิดที่มีประโยชน์โดยมีคุณสมบัติจัดการได้สะดวก

ชื่อ "ทีเอ็นที" นี้ ตามการเรียกชื่อของ[[IUPAC]] คือ ''methyl-1,3,5-trinitrobenzene'' โดยทั่วไปจะคุ้นกับชื่อ "ไตรไนโตรโทลูอีน" (trinitrotoluene) มากกว่า


สารเคมีดังกล่าวนี้ มีการสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยโจเซฟ วิลแบรนด์ (Joseph Wilbrand) เมื่อ ค.ศ. 1863 และการผลิตปริมาณมากครั้งแรก เกิดขึ้นในเยอรมนี เมื่อ ค.ศ. 1891
สารเคมีดังกล่าวนี้ มีการสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยโจเซฟ วิลแบรนด์ (Joseph Wilbrand) เมื่อ ค.ศ. 1863 และการผลิตปริมาณมากครั้งแรก เกิดขึ้นในเยอรมนี เมื่อ ค.ศ. 1891

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:05, 18 สิงหาคม 2558

ไตรไนโตรโทลูอีน
ไตรไนโตรโทลูอีนรูปของแข็ง
ชื่อ
IUPAC name
2-methyl-1,3,5-trinitrobenzene
ชื่ออื่น
2,4,6-Trinitrotoluene,
TNT, Trilite, Tolite, Trinol, Trotyl, Tritolo, Tritolol, Triton, Tritone, Trotol, Trinitrotoluol,
2,4,6-Trinitromethylbenzene
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ตัวย่อ TNT
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.003.900 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 204-289-6
UNII
UN number 0209Dry or wetted with < 30% water
0388, 0389Mixtures with trinitrobenzene, hexanitrostilbene
  • InChI=1/C7H5N3O6/c1-4-2-3-5(8(11)12)7(10(15)16)6(4)9(13)14/h2-3H,1H3
    Key: FPKOPBFLPLFWAD-UHFFFAOYAR
  • O=[N+]([O-])c1c(c(ccc1C)[N+]([O-])=O)[N+]([O-])=O
คุณสมบัติ
C7H5N3O6
มวลโมเลกุล 227.13 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ Pale yellow. Loose "needles" before melt-casting. A solid block after being poured into a casing.
ความหนาแน่น 1.654 g/cm3
จุดหลอมเหลว 80.35 °C
จุดเดือด 295 °C
0.13 g/L (20 °C)
ความสามารถละลายได้ ใน ether, acetone, benzene, pyridine soluble
ข้อมูลระเบิด
ความไวต่อแรงกระแทก Insensitive
ความไวต่อแรงเสียดทาน Insensitive to 353 N
RE factor 1.00
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 2: Intense or continued but not chronic exposure could cause temporary incapacitation or possible residual injury. E.g. chloroformFlammability 4: Will rapidly or completely vaporize at normal atmospheric pressure and temperature, or is readily dispersed in air and will burn readily. Flash point below 23 °C (73 °F). E.g. propaneInstability 4: Readily capable of detonation or explosive decomposition at normal temperatures and pressures. E.g. nitroglycerinSpecial hazards (white): no code
2
4
4
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ทีเอ็นที (อังกฤษ: TNT; ย่อจาก "ไตรไนโตรโทลูอีน" (Trinitrotoluene)) มีสารเคมีซึ่งมีสูตรคือ C6H2(NO2)3CH3 เป็นของแข็งสีเหลืองซึ่งบ้างใช้เป็นตัวเร่งในการสังเคราะห์เคมี แต่รู้จักกันดีที่สุดว่าเป็นวัตถุระเบิดที่มีประโยชน์โดยมีคุณสมบัติจัดการได้สะดวก

สารเคมีดังกล่าวนี้ มีการสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยโจเซฟ วิลแบรนด์ (Joseph Wilbrand) เมื่อ ค.ศ. 1863 และการผลิตปริมาณมากครั้งแรก เกิดขึ้นในเยอรมนี เมื่อ ค.ศ. 1891

ด้วยการใช้งานอย่างกว้างขวาง ทำให้ทีเอ็นทีเป็นเกณฑ์มาตรฐานในการวัดความเข้มของระเบิด และวัตถุระเบิดอื่นๆ โดยเทียบประสิทธิภาพกับทีเอ็นที เรียกว่า "TNT equivalent"

คุณสมบัติ

trinitrotoluene มีลักษณะเป็นผลึกสีเหลือง เรียวคล้ายเข็ม ละลายในน้ำได้น้อยแต่จะละลายได้ดีในตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น ether,acetone,benzene และ pyridine เนื่องจากมีจุดหลอมเหลวต่ำกว่า 80.35 °C ดังนั้นจึงสามารถหลอมละลาย TNT โดยใช้ความร้อนจากไอน้ำ TNT มีความเป็นพิษต่อร่างกายมนุษย์เมื่อถูกผิวหนังจะทำให้เกิดการแพ้ได้

*ความสามารถในการละลายน้ำ: 130 มก/ลิตร ที่อุณหภูมิ 20 °C และเมื่อนำสารละลายนี้ไปต้ม จะเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง *แรงดันไอน้ำที่ 20 °C: 1.5-6 mbar

อ้างอิง