ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อองซาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
มีส่วนในการสังหารออง ซาน ถือว่าเป็นคนในประวัติศาสตร์ที่เป็นตัวแปรทางประวัติศาสตร์พม่า
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
ออง ซานพบว่าเอกราชที่ญี่ปุ่นสัญญาไว้ไม่เป็นความจริง ในช่วงปลายสงครามโลก จึงได้กลับไปเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อขับไล่ญี่ปุ่นออกไปจากพม่า
ออง ซานพบว่าเอกราชที่ญี่ปุ่นสัญญาไว้ไม่เป็นความจริง ในช่วงปลายสงครามโลก จึงได้กลับไปเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อขับไล่ญี่ปุ่นออกไปจากพม่า


ในเดือนมิถุนายน [[พ.ศ. 2490]] (ค.ศ. 1947) อองซานเซ็นสัญญากับสหราชอาณาจักรว่าจะมอบเอกราชให้กับพม่าภายในหนึ่งปี แต่ระหว่างการประชุมสภาเมื่อวันที่ [[19 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2490]] ออง ซานถูกลอบสังหารพร้อมกับสมาชิกสภาอีก 6 คน โดยพบว่าเป็นฝีมือของ อู ซอ ซึ่งเป็นคู่แข่งทางการเมืองของออง ซาน ซึ่ง อู ซอ ถูกประหารชีวิต ออง ซาน เสียชีวิตเมื่อมีอายุแค่เพียง 32 ปี และยังไม่ทันเห็นเอกราชของพม่าในวันที่ [[4 มกราคม]] [[พ.ศ. 2491]] (ค.ศ. 1948)
ในเดือนมิถุนายน [[พ.ศ. 2490]] (ค.ศ. 1947) อองซานเซ็นสัญญากับสหราชอาณาจักรว่าจะมอบเอกราชให้กับพม่าภายในหนึ่งปี แต่ระหว่างการประชุมสภาเมื่อวันที่ [[19 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2490]] ออง ซานถูกลอบสังหารพร้อมกับสมาชิกสภาอีก 6 คน โดยพบว่าเป็นฝีมือของ [[อู ซอ]] ซึ่งเป็นคู่แข่งทางการเมืองของออง ซาน ซึ่ง อู ซอ ถูกประหารชีวิต ออง ซาน เสียชีวิตเมื่อมีอายุแค่เพียง 32 ปี และยังไม่ทันเห็นเอกราชของพม่าในวันที่ [[4 มกราคม]] [[พ.ศ. 2491]] (ค.ศ. 1948)


ปัจจุบัน [[ออง ซาน ซูจี|นางออง ซาน ซูจี]] บุตรสาวของออง ซานเป็นผู้นำในการต่อสู้กับรัฐบาลเผด็จการทหารของพม่า<ref>Maung Maung (1962). ''Aung San of Burma''. The Hauge: Martinus Nijhoff for Yale University. pp. 22, 23.</ref>
ปัจจุบัน [[ออง ซาน ซูจี|นางออง ซาน ซูจี]] บุตรสาวของออง ซานเป็นผู้นำในการต่อสู้กับรัฐบาลเผด็จการทหารของพม่า<ref>Maung Maung (1962). ''Aung San of Burma''. The Hauge: Martinus Nijhoff for Yale University. pp. 22, 23.</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:00, 9 กรกฎาคม 2558

อองซาน

นายพลออง ซาน (พม่า: အောင်ဆန်း, Aung San) หรือ อู อองซาน (U Aung San) (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) เป็นนักปฏิวัติ นายพล และนักการเมืองของประเทศพม่า ได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งประเทศพม่าในยุคปัจจุบัน หรือ "วีรบุรุษเพื่ออิสรภาพของประเทศพม่า"[1]

ออง ซานเกิดในครอบครัวที่ต่อต้านการปกครองของสหราชอาณาจักร ซึ่งในช่วงนั้นพม่าเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินเดียที่เป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร เข้าศึกษาที่มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ซึ่งได้แสดงความเคลื่อนไหวทางการเมือง และได้รับเลือกให้เป็นผู้นำนักศึกษา

พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) ออง ซานได้รับการสนับสนุนจากประเทศญี่ปุ่น โดยได้ก่อตั้งกองกำลังปลดปล่อยพม่าที่กรุงเทพมหานคร ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นสามารถยึดพม่าจากสหราชอาณาจักรได้และวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2486 (ค.ศ. 1943) ญี่ปุ่นได้ประกาศว่าพม่าเป็นประเทศเอกราช และตั้งออง ซานเป็นนายกรัฐมนตรี

ออง ซานพบว่าเอกราชที่ญี่ปุ่นสัญญาไว้ไม่เป็นความจริง ในช่วงปลายสงครามโลก จึงได้กลับไปเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อขับไล่ญี่ปุ่นออกไปจากพม่า

ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2490 (ค.ศ. 1947) อองซานเซ็นสัญญากับสหราชอาณาจักรว่าจะมอบเอกราชให้กับพม่าภายในหนึ่งปี แต่ระหว่างการประชุมสภาเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 ออง ซานถูกลอบสังหารพร้อมกับสมาชิกสภาอีก 6 คน โดยพบว่าเป็นฝีมือของ อู ซอ ซึ่งเป็นคู่แข่งทางการเมืองของออง ซาน ซึ่ง อู ซอ ถูกประหารชีวิต ออง ซาน เสียชีวิตเมื่อมีอายุแค่เพียง 32 ปี และยังไม่ทันเห็นเอกราชของพม่าในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948)

ปัจจุบัน นางออง ซาน ซูจี บุตรสาวของออง ซานเป็นผู้นำในการต่อสู้กับรัฐบาลเผด็จการทหารของพม่า[2]

อ้างอิง

  1. ภารกิจต่อแผ่นดิน : อองซานซูจี
  2. Maung Maung (1962). Aung San of Burma. The Hauge: Martinus Nijhoff for Yale University. pp. 22, 23.