ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอท่าวุ้ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Schatthong84 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนเนื้อหาอาจละเมิดลิขสิทธิ์ หรือไม่เป็นสารานุกรม ไม่ใช่? แจ้งที่นี่
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
| image_map = Amphoe 1605.svg
| image_map = Amphoe 1605.svg
}}
}}
'''อำเภอท่าวุ้ง ''' เป็น[[อำเภอ]]หนึ่งของ[[จังหวัดลพบุรี]] เดิมชื่อ '''อำเภอโพหวี''' ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2460]] ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2460/A/40.PDF ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนชื่ออำเภอ.] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 34 ตอนที่ ๐ ก วันที่ 29 เมษายน 2460.</ref>
'''อำเภอท่าวุ้ง ''' เป็น[[อำเภอ]]หนึ่งของ[[จังหวัดลพบุรี]]

อำเภอท่าวุ้ง ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ที่นำเสนอต่อไปนี้ แบ่งได้เป็น ๓ ยุค ดังนี้

'''ยุคที่ ๑. อำเภอโพหวี ตั้งอยู่ที่บ้านคลองโพ ตำบลโพตลาดแก้ว (พ.ศ. ๒๔๔๒ - ๒๔๕๑)
'''

'''ยุคที่ ๒. อำเภอโพหวี ตั้งอยู่ที่บ้านท่าวุ้ง ตำบลท่าวุ้ง (พ.ศ. ๒๔๕๒ - ๒๔๕๙)
'''

'''ยุคที่ ๓. อำเภอท่าวุ้ง ตั้งอยู่บ้านท่าวุ้ง ตำบลท่าวุ้ง (พ.ศ. ๒๔๖๐ - ปัจจุบัน ๒๕๕๖)'''


'''ยุคที่ ๑. อำเภอโพหวี''' '''ตั้งอยู่ที่บ้านคลองโพ ตำบลโพตลาดแก้ว (พ.ศ. ๒๔๔๒-๒๔๕๙)
''' เมื่อตั้งอำเภอท่าวุ้งในปี พ.ศ. ๒๔๔๒ จังหวัดลพบุรี มีอำเภอร่วมสมัย อยู่ ๔ อำเภอ คือ
๑ อำเภอเมืองลพบุรี
๒ อำเภอโพหวี
๓ อำเภอสนามแจง (บ้านหมี่)
๔ อำเภอสระโบสถ์ (อำเภอโคกสำโรง)

(ภาพซ้ายมือ เป็นภาพอาคารที่ว่าการอำเภอหลังแรก ที่สร้างประมาณปีพ.ศ. ๒๔๔๒ ภาพอาคารขวามือเป็นอาคารที่กรมศิลปากรสร้างใหม่ ณ ที่เดิมในปีพ.ศ.๒๕๕๔ ตามแบบแปลนเดิมขยายกว้างขึ้น โดยเพิ่มยกพื้นใต้ถุนสูงและออกมุขคลุมบันได)

'''อำเภอโพหวี''' แรกตั้งอยู่ที่บ้านคลองโพ ตำบลโพตลาดแก้ว ที่ว่าการอำเภอตั้งอยู่บนริมฝั่งซ้ายของแม่น้ำลพบุรี (หันหน้าล่องตามน้ำ) ลักษณะอาคาร เป็นอาคารไม้ชั้นเดียว ยกพื้นกลางให้สูงขึ้นประมาณ ๓๐-๔๐ เซนติเมตร จากพื้นระเบียงรอบๆ ต่อมาหลวงพิจารณา (หร่ำ) นายอำเภอคนที่ ๒ เห็นว่าตั้งอยู่ใกล้ริมตลิ่งแม่น้ำลพบุรีมากเกินไปจึงขยับย้ายเข้ามา ๑๐ วาเศษ ส่วนรูปแบบอาคารเหมือนเดิม ไม่มีฝารอบขอบชิด เป็นศาลาโถงมักเรียกกันว่า “ศาลาหลวง” บางคนก็เรียกว่า “ศาลาตาหลวง” เพราะหลวงพิจารณา (หร่ำ)เป็นคนสร้าง และใช้ว่าราชการงานอำเภอ และเรียกติดปากกันมาจนถึงปัจจุบัน

'''นายอำเภอคนแรก (คนที่ ๑) นายนวน (พ.ศ. ๒๔๔๒)'''

'''นายอำเภอคนที่ ๒ หลวงพิจารณา (หร่ำ) (พ.ศ. ๒๔๔๓-๒๔๔๙)'''

'''นายอำเภอคนที่ ๓ ขุนภูดาษ (โอด) (พ.ศ. ๒๔๕๐)'''

'''นายอำเภอคนที่ ๔ ขุนมนุญกิจกรณ์ (ต้อ) (พ.ศ. ๒๔๕๐-๒๔๕๑)'''



'''ยุคที่ ๒ : อำเภอโพหวี ที่บ้านท่าวุ้ง ตำบลท่าวุ้ง (พ.ศ. ๒๔๕๒-๒๔๕๙)'''

'''ในยุคที่ ๒ ได้มีการย้ายที่ว่าการอำเภอจากบ้านคลองโพ ตำบลโพตลาดแก้ว มาตั้งที่บ้านท่าวุ้ง ตำบลท่าวุ้ง แต่ยังคงใช้ชื่อว่า “อำเภอโพหวี”''' เหมือนเดิม

สาเหตุที่ย้ายที่ว่าการอำเภอจากบ้านคลองโพมาที่บ้านท่าวุ้ง เพราะเหตุผลที่ต้องยอมรับและน่าจะถูกต้อง ๓ ประการดังนี้

'''๑ ใกล้ที่ตั้งที่ว่าราชการเมือง''' บ้านคลองโพ ห่างจากที่ว่าราชการเมืองประมาณ ๔ กิโลเมตร เพราะที่ว่าราชการเมืองขณะนั้นอยู่ที่บ้านต้นสะตือ เยื้องหน้าวัดมะปรางหวาน ตำบลพรหมาสตร์ อำเภอเมืองลพบุรี เกือบตรงข้ามวัดกำแพง (ปัจจุบันคือวัดเทพโพธิกุญชร)

'''๒ ไม่เป็นศูนย์กลางพื้นที่การปกครอง''' ระยะทางจากตำบลต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับการปกครองของอำเภอโพหวี ที่บ้านคลองโพ มีความแตกต่างกันมากบางตำบลก็อยู่ใกล้ บางตำบลก็ไกลมาก ดังนั้นการไปมาของราษฎรที่จะมาติดต่องานกับทางอำเภอจึงยากลำบากมากสำหรับตำบลที่อยู่ห่างไกล

'''๓ ที่ตั้งใหม่เป็นศูนย์กลาง''' การสร้างที่ว่าการอำเภอแห่งใหม่ ที่บ้านท่าวุ้ง ตำบลท่าวุ้ง นั้นทำให้หมู่บ้านหรือตำบลต่างๆ ที่ขึ้นอยู่กับการปกครองของอำเภอมีระยะทางห่างจากที่ว่าการอำเภอพอๆ กัน นับว่าที่ตั้งอำเภอโพหวีแห่งใหม่นี้ เป็นศูนย์กลางที่ประชาชนทุกตำบลไปมาสะดวก ไม่ใกล้ที่ตั้งที่ว่าราชการเมืองมากเหมือนที่ตั้งอยู่ที่บ้านคลองโพ


(ภาพที่ว่าการอำเภอสามโคก จ.ปทุมธานี แบบแปลนร่วมสมัยกับที่ว่าการอำเภอท่าวุ้ง ที่สร้างปี พ.ศ. ๒๔๕๒)
'''สำหรับปีที่ย้ายที่ว่าการอำเภอโพหวี ที่บ้านคลองโพ มาอยู่ที่บ้านท่าวุ้งนั้น สันนิษฐานว่าคงสร้างที่ว่าการอำเภอใหม่ไว้เรียบร้อยแล้ว จึงย้ายมาประมาณปี พ.ศ. ๒๔๕๒''' ที่ว่าการอำเภอโพหวีที่บ้านท่าวุ้ง นับเป็นที่ว่าการอำเภอโดยแท้จริงหลังแรก '''ที่ว่าการอำเภอมีลักษณะเป็นอาคารไม้ใต้ถุนสูงชั้นเดียวแบบออกมุขตรงกลาง หันหน้าสู่แม่น้ำลพบุรี''' ที่หน้าอำเภอมีสะพานท่าน้ำทอดออกพ้นตลิ่งไปประมาณ ๔ วา ระหว่างที่ว่าการอำเภอกับสะพานท่าน้ำ มีการสร้างถนนติดต่อกันยาวประมาณ ๑๗ วา และถนนอีกสายหนึ่งจากที่พักกรมการอำเภอไปจดท่าน้ำยาวประมาณ ๑๗ วา เช่นกัน

ยุคที่ ๒ นี้ มีนายอำเภอมาดำรงตำแหน่งอยู่ ๓ ท่าน ดังนี้

'''นายอำเภอคนที่ ๕ นายเขิน สิงหพันธ์ (พ.ศ. ๒๔๕๑ - ๒๔๕๖)'''
'''นายอำเภอคนที่ ๖ ขุนพิทักษ์ประชาชน (สมพงษ์) (พ.ศ. ๒๔๕๖-๒๔๕๗)'''

น'''ายอำเภอคนที่ ๗ ขุนสระธานี (โต่ง) (พ.ศ. ๒๔๕๘-๒๔๕๙)'''


'''สำหรับอำเภอโพหวี ที่ยกมาตั้งที่ว่าการอำเภอ ที่บ้านท่าวุ้ง เปลี่ยนชื่อเรียกว่า อำเภอท่าวุ้งในขณะนั้น จนกระทั่ง วันที่ ๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ จึงได้เปลี่ยนชื่อจากอำเภอโพหวี เป็นอำเภอท่าวุ้ง ตามชื่อที่ตั้งของตำบลท่าวุ้ง
'''


'''ยุคที่ ๓ : อำเภอท่าวุ้ง ที่บ้านท่าวุ้ง ตำบลท่าวุ้ง (พ.ศ. ๒๔๖๐-ปัจจุบัน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖)'''

ยุคที่ ๓ นี้ ที่ว่าการอำเภอท่าวุ้งลงหลักปักฐาน ที่บ้านท่าวุ้ง และมีพัฒนาการไปตามทิศทางของผู้นำ และสังคมแต่ละสมัยทำให้อำเภอท่าวุ้งมีความเจริญก้าวหน้าไปตามลำดับ มีผู้มาดำรงตำแหน่งนายอำเภอ ดังนี้

'''นายอำเภอคนที่ ๘ : ขุนพิทักษ์ลพนิกร (ปั่น นิยมจันทร์) (พ.ศ.๒๔๕๙-๒๔๖๘)'''

'''นายอำเภอคนที่ ๙ : ขุนสมิงสมัครการ (พ.ศ. ๒๔๖๘-๒๔๖๙ หรือ ๒๔๗๐)'''

'''นายอำเภอคนที่ ๑๐ : นายถวิล บัณฑิตกุล (พ.ศ. ๒๔๗๐-๒๔๗๕)'''

'''นายอำเภอคนที่ ๑๑ : นายศิริ สันตะบุตร (๑ เมษายน ๒๔๘๐-๓๑ สิงหาคม ๒๔๘๓)'''

'''นายอำเภอคนที่ ๑๒ : นายสาลี สุวรรณเทศ (๑๓ ตุลาคม ๒๔๘๓-๓๑ ธันวาคม ๒๔๘๔)'''

'''นายอำเภอคนที่ ๑๓ : นายเสริม สายเขมะ (๑ เมษายน ๒๔๘๕-๓๐ พฤศจิกายน ๒๔๘๖)'''

'''นายอำเภอคนที่๑๔ : นายอเนก พยัคฆันตร์ (๑ ธันวาคม ๒๔๘๖-๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๔๘๗)'''

'''นายอำเภอคนที่ ๑๕ : นายเพชร บูรณะวรศิริ (๑ มีนาคม ๒๔๘๗-๓๑ มีนาคม ๒๔๘๘)'''

'''นายอำเภอคนที่ ๑๖ : นายวิเชียร นาคภพ (๑ เมษายน ๒๔๘๔-๑ ธันวาคม ๒๔๘๙)'''

'''นายอำเภอคนที่ ๑๗ : หลวงสีหบุรานุกิจ (๑ มกราคม ๒๔๙๐-๑ ธันวาคม ๒๔๙๑)'''

'''นายอำเภอคนที่ ๑๘ : นายประชิต อินทรัมพรรย์ (๑ ธันวาคม ๒๔๙๑-๑๒ พฤศจิกายน ๒๔๙๔)'''

'''นายอำเภอคนที่ ๑๙ : นายวงษ์ ช่อวิเชียร (๒๒ ธันวาคม ๒๔๙๔-๑๕ ธันวาคม ๒๔๙๖)'''

(ภาพที่ว่าการอำเภอพล จ.ขอนแก่น แบบแปลนร่วมสมัยกับที่ว่าการอำเภอท่าวุ้ง ที่สร้างในปี พ.ศ. ๒๔๙๔)
ในสมัยนายวงษ์ ช่อวิเชียร พ.ศ. ๒๔๙๔ รื้อที่ว่าการอำเภอหลังเก่า ที่นับว่าเป็นหลังแรกเมื่อมาอยู่ที่บ้านท่าวุ้ง เพราะอยู่ในสภาพทรุดโทรมมาก และสร้างใหม่แล้วเสร็จเปิดเป็นที่ว่าการเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๕
นายอำเภอคนที่ ๒๐ : นายวิเชียร จะวะสิต (๔ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๗-๑๒ พฤศจิกายน ๒๔๙๘นายอำเภอคนที่ ๒๑ : นายวงศ์ ประพันธเสน (๑๒ พฤศจิกายน ๒๔๙๘-๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๑)
นายอำเภอคนที่ ๒๒ : นายบำรุง สุขบุษย์ (๑ เมษายน ๒๕๐๑-๒๙ ตุลาคม ๒๕๐๒)
นายอำเภอคนที่ ๒๓ : นายประเวศ ศรีปลั่ง (๔ พฤศจิกายน ๒๕๐๒-๒๖ ธันวาคม ๒๕๐๓)
นายอำเภอคนที่ ๒๔ : นายสีห์ ปล่องทอง (๒๖ ธันวาคม ๒๕๐๓-๓๐ กันยายน ๒๕๐๗)
นายอำเภอคนที่ ๒๕ : นายธานี โรจนลักษณ์ (๑ ตุลาคม ๒๕๐๗-๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๐๗)
นายอำเภอคนที่ ๒๖ : นายสีห์ ปล่องทอง (๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๐๗-๒๙ เมษายน ๒๕๐๙)
นายอำเภอคนที่ ๒๗ : นายพิริยะ ชาตะสุภณ (๒๙ เมษายน ๒๕๐๙-๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๑๓)
นายอำเภอคนที่ ๒๘ : นายปรีชา กาญจนานนท์ (๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๑๓- ๒๗ มีนาคม ๒๕๑๕)
นายอำเภอคนที่ ๒๙ : นายพิสิษฐ์ ชมปรีดา (๒๗ มีนาคม ๒๕๑๕-๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗)
นายอำเภอคนที่ ๓๐ : นายอรุณ วิไลรัตน์ (๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗-๘ ตุลาคม ๒๕๑๙)
นายอำเภอคนที่ ๓๑ : นายประคอง วปินานนท์ (๙ ตุลาคม ๒๕๑๙-๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๒)
นายอำเภอคนที่ ๓๒ : นายสมจิตต์ ริ้วทอง (๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๒-๓๐ พฤษภาคม ๒๕๒๒)
นายอำเภอคนที่ ๓๓ : นายวัฒนะ เก็จมะยูร (๑ มิถุนายน ๒๕๒๒-๒๑ เมษายน ๒๕๒๗)
นายอำเภอคนที่ ๓๔ : นายบุญธรรม กลั่นขจร (๒๑ เมษายน ๒๕๒๗-๓ ตุลาคม ๒๕๒๙)
นายอำเภอคนที่๓๕ : นายจำนูญ กาวิละ (๖ ตุลาคม ๒๕๒๙ - ๓๐ กันยายน๒๕๓๐)
นายอำเภอคนที่ ๓๖ : นายวิทยา อุยะเสถียร (๑๔ ตุลาคม ๒๕๓๐-๑๔ ตุลาคม ๒๕๓๒)
นายอำเภอคนที่ ๓๗ : นายมนตรี ตระกูลแพทย์ (๑ พฤศจิกายน ๒๕๓๒-๕ ตุลาคม ๒๕๓๕)
นายอำเภอคนที่ ๓๘ : นายถาวร โพธิสมบัติ (๑๒ ตุลาคม ๒๕๓๕-๑๖ ตุลาคม ๒๕๓๗)
นายอำเภอคนที่ ๓๙ : นายสมยศ วิทวัสสำราญกุล (๑๗ ตุลาคม ๒๕๓๗-๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๐)



มีเหตุการณ์สำคัญในสมัยของท่าน คือ กรมการปกครองจัดสรรงบประมาณมาให้ก่อสร้างอำเภอใหม่ จึงรื้ออาคารที่ว่าการอำเภอเก่าเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๗ สร้างอาคารใหม่เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเสร็จเมื่อเดือนตุลาคม ๒๕๓๙ นับเป็นอาคารหลังที่ ๓ ที่ตั้งอยู่ที่บ้านท่าวุ้ง
นายอำเภอคนที่ ๔๐ : นายนิพันธ์ ชลวิทย์ (๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๐-๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๑)
นายอำเภอคนที่ ๔๑ : นายปรีชา หุ่นสุวรรณ (๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๑-๑๐ ธันวาคม ๒๕๔๔)
นายอำเภอคนที่ ๔๒ : นายสาโรช แสงอรุณ (๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๔-๕ ตุลาคม ๒๕๔๖)
นายอำเภอคนที่ ๔๓ : นายยุติศักดิ์ เอกอัคร (๖ ตุลาคม ๒๕๔๖-๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๐)
นายอำเภอคนที่ ๔๔ : นายสันติ เหล่าบุญเสงี่ยม (๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๖-๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๒)
นายอำเภอคนที่ ๔๕ : นายวิบูลย์ เลาหสุรโยธิน (๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๒ – ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๔)
นายอำเภอคนที่ ๔๖ : นางสาวปาณี นาคะนาท (๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๔ – ๗ พฤษภาคม ๒๔๕๕)
นายอำเภอคนที่ ๔๗ : นายธานี มาลีหอม (๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕ – ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๖)
นายอำเภอคนที่ ๔๘ : นายสมยศ มะลิลา (๑๑ มีนาคม ๒๕๕๖ - ๒๕ มกราคม ๒๕๕๘)
นายอำเภอคนที่ ๔๙ : นายปรัชญา เปปะตัง (๓๐ มีนาคม ๒๕๕๘ - ถึงปัจจุบัน)
---------------------------------------
อ้างอิง : นายศรี อิ่มสุข และ ผศ.ศิริเพ็ญ มากบุญ , ถิ่นที่อยู่ “อำเภอท่าวุ้ง” , โรงพิมพ์กรุงไทยการพิมพ์ อำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี , ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๖, หน้า ๑-๒๗



== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:18, 31 พฤษภาคม 2558

อำเภอท่าวุ้ง
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Tha Wung
คำขวัญ: 
ท่าวุ้งมีมานานโบราณกล่าว
เขาได้เอาคลองน้ำมาทำชื่อ
คลองวกวนเว้าดุจเขากระบือ
แต่คนซื่อไม่คดตามเหมือนน้ำคลอง
แผนที่จังหวัดลพบุรี เน้นอำเภอท่าวุ้ง
แผนที่จังหวัดลพบุรี เน้นอำเภอท่าวุ้ง
พิกัด: 14°48′54″N 100°30′42″E / 14.81500°N 100.51167°E / 14.81500; 100.51167
ประเทศ ไทย
จังหวัดลพบุรี
พื้นที่
 • ทั้งหมด242.8 ตร.กม. (93.7 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2557)
 • ทั้งหมด49,801 คน
 • ความหนาแน่น205.11 คน/ตร.กม. (531.2 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 15150, 15180 (เฉพาะตำบลเขาสมอคอน)
รหัสภูมิศาสตร์1605
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอท่าวุ้ง ถนนลพบุรี-สิงห์บุรี ตำบลท่าวุ้ง อำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี 15150
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

อำเภอท่าวุ้ง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี เดิมชื่อ อำเภอโพหวี ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน[1]

ที่ตั้งและอาณาเขต

อำเภอท่าวุ้งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้

การแบ่งเขตการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอท่าวุ้งแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 11 ตำบล 128 หมู่บ้าน ได้แก่

1. ท่าวุ้ง (Tha Wung) 12 หมู่บ้าน 7. เขาสมอคอน (Khao Samo Khon) 13 หมู่บ้าน
2. บางคู้ (Bang Khu) 15 หมู่บ้าน 8. หัวสำโรง (Hua Samrong) 15 หมู่บ้าน
3. โพตลาดแก้ว (Pho Talat Kaeo) 10 หมู่บ้าน 9. ลาดสาลี่ (Lat Sali) 7 หมู่บ้าน
4. บางลี่ (Bang Li) 16 หมู่บ้าน 10. บ้านเบิก (Ban Boek) 11 หมู่บ้าน
5. บางงา (Bang Nga) 13 หมู่บ้าน 11. มุจลินท์ (Mutchalin) 9 หมู่บ้าน
6. โคกสลุด (Khok Salut) 7 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอท่าวุ้งประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 12 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลตำบลท่าวุ้ง ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลท่าวุ้ง
  • เทศบาลตำบลท่าโขลง ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลเขาสมอคอน
  • เทศบาลตำบลโคกสลุด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโคกสลุดทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลโพตลาดแก้ว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโพตลาดแก้วทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลบางงา ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางงาทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลท่าวุ้ง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลท่าวุ้ง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลท่าวุ้ง)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบางคู้ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางคู้และตำบลลาดสาลี่ทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบางลี่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางลี่ทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลเขาสมอคอน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเขาสมอคอน (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลท่าโขลง)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลหัวสำโรง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหัวสำโรงทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเบิก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านเบิกทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลมุจลินท์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลมุจลินท์ทั้งตำบล

อ้างอิง

  1. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนชื่ออำเภอ. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 34 ตอนที่ ๐ ก วันที่ 29 เมษายน 2460.